วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ก่อร่าง สร้างเรื่อง: เรื่องเล่า อัตลักษณ์ และชุมชน ในวรรณกรรมสตรีชายขอบ

ก่อร่างสร้างเรื่อง

ก่อร่าง สร้างเรื่อง: เรื่องเล่า อัตลักษณ์และชุมชนในวรรณกรรมสตรีชายขอบ

ผศ. ดร. ชุติมา ประกาศวุฒิสาร

โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2554

ISBN: 978-616-7150-06-2

สารบัญ

บทที่1 การอ่านและวิเคราะห์วรรณกรรมสตรีชายขอบ

1.1 ข้อจำกัดในการศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมสตรีชายขอบ

1.2 ชายขอบในฐานะพื้นที่ของการกดขี่และการสร้างสรรค์วรรณกรรม

1.3 งานเขียนกับการจดบันทึกประวัติศาสตร์ของชุมชน

1.4 นักเขียนกับภาษาและรูปแบบการประพันธ์

บทที่2 ความเป็นอะบอริจิน: การเมืองเรื่องอัตลักษณ์ใน My Place

2.1 จุดกำเนิด My Place

2.2 อัตชีวประวัติของแซลลี มอร์แกน

2.3 การสืบค้นประวัติครอบครัว

2.4 การเดินทางกลับบ้านเกิดบรรพบุรุษ

2.5 การปฏิเสธชื่อพ่อ

2.6 เรื่องเล่าของสมาชิกในครอบครัว

บทที่3 ประวัติศาสตร์บาดแผล: การเยียวยาและการรื้อฟื้นความทรงจำใน Obasan

3.1 กลุ่มคนเชื้อสายญี่ปุ่นในแคนาดา

3.2 การอพยพโยกย้ายชุมชนเชื้อสายญี่ปุ่นในแคนาดา

3.3 การทบทวนความหมายของความเงียบและคำพูด

3.4 การรื้อฟื้นสายสัมพันธ์กับแม่และวัฒนธรรมญี่ปุ่น

3.5 การไขปริศนาเรื่องการหายไปของชุมชนแคนาดาเชื้อสายญี่ปุ่น

3.6 จากปัจเจกสู่ชุมชน: การสร้างจิตสำนึกทางการเมืองผ่านพื้นที่

บทที่4 ความรุนแรง จิตวิญญาณ และการเยียวยาใน Comfort Woman

4.1 ความเป็นหญิงกับความเป็นชาติ

4.2 การครอบครองชาติและเรือนร่างสตรี

4.3 ความเงียบและความตาย

4.4 พิธีกรรมเข้าทรงกับการเยียวยา

4.5 ความสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูกสาว

บทที่5 ตำรา ตำรับ ทัพพี: อิสตรีกับการสร้างประวัติศาสตร์

5.1 การทำครัวกับการรื้อฟื้นความทรงจำในอดีต

5.2 ความเป็นหญิงในสังคมจารีตเม็กซิกัน

5.3 ผู้หญิงกับการทำครัว: “ความรู้” กับ “ความลับ”

5.4 อาหาร อำนาจ อัตลักษณ์

5.5 อาหารกับการเยียวยา: การกดขี่ทางเพศและวัฒนธรรม

5.6 ตำราอาหารกับการบันทึกประวัติศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

บทที่6 อารมณ์ต้องห้าม: อุดมการณ์กับความรักใน อะเซเลียสีแดง

6.1 การปฏิวัติวัฒนธรรม: ความเป็นชาติและความเป็นชาย

6.2 พื้นที่ประวัติศาสตร์ในฐานะพื้นที่แห่งความปรารถนา

6.3 ในเมืองเซี่ยงไฮ้: ครอบครัว อุดมการณ์ และความรัก

6.4 ในฟาร์มเพลิงแดง: อุดมการณ์กับความเป็นจริง

6.5 การรื้อฟื้นเรื่องราวของสตรีในประวัติศาสตร์

บทที่7 บทสรุป

7.1 จากความเงียบสู่เรื่องเล่า

7.2 พื้นที่ส่วนตัวกับการต่อสู้ในชีวิตประจำวัน

7.3 ผู้หญิงกับบทบาทของการดำรงรักษาวัฒนธรรม

บรรณานุกรม

  • หมายเหตุ
  • - รางวัล TTF Award ด้านมนุษยศาสตร์ ประจำปี 2554
  • - หนังสือเล่มนี้ได้มาจากอาจารย์กุ้ง เมื่อปีใหม่ 56 พร้อมกับหนังสือของอาจารย์ตู่ แต่ก็ไม่ได้หยิบมาอ่านอย่างจริงจังเสียที ด้วยนึกว่าหลายบทความเคยอ่านมาก่อนหน้าแล้ว
  • -  ส่วนที่ประทับใจที่สุด คือ อาจารย์ได้ปูพื้นของการวิเคราะห์วรรณกรรมและแนวคิดสตรีนิยมได้อย่างรวบรัดและเข้าใจง่าย