วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552

วารสาร

รัฐศาสตร์สาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

2539p3[6]

ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 (2539)

2542p1[6]

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (2542): 50 ปี รัฐศาสตร์ธรรมศาสตร์

2542p3[6]

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (2542)

2543p1[6]

ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (2543)

2543p2[6]

ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (2543?)

2543p3[6]

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 (2543)

2545p1[6]

ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 (2545)

2545p3[6]

ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 (2545)

2546p3[6]

ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 (2546)

2547p2[6]

ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (2547)

2547p3[6]

ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 (2547)

2549p3[6]

ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2549)

2550p2[6]

ปีที่ 28 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2550)

2551p1[6]

ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2551)

2551p2[6]

ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2551)

2551p3[6]

ปีที่ 29 ฉบับที่ 3 (ก.ย. - ธ.ค. 2551)

2552p1[6]

ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 (ม.ค.- เม.ย. 52)

2552p2[6]

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (พ.ค.- ส.ค. 52)

mini2541y20v1 ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (2541) mini2545p2 ปีที่23 ฉบับที่2 (2545)

#########

วารสารสังคมศาสตร์: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

miniCUPol30v2 ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (พ.ค. 39) ความรัก/ ความรู้/ ความตาย miniCUPol34v2 ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 46) ปรัชญาการเมือง๑ : THE MATRIX
miniCUPol35v1 ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 47) ปรัชญาการเมือง๒ : องค์รวม    

#########

วารสารศิลปศาสตร์: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

miniArtTU1V2 ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2544) miniArtTU4v2 ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2547)
miniArtTU2548p2[6] ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2548) miniArtTU2549p1[6] ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 2549)

#########

วารสารอักษรศาสตร์: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

miniArtCU2547y33v2 ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 47) โจร อันธพาล ขอทาน และอาชญากรรม ArtCU2548p2

ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2548)
ฉบับ สนุกนึกพิลึกการละคร

ArtCU2548p1

ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2549)
ฉบับ วรรณกรรมระอาสังคม

ArtCU2551special ปีที่ 31 ฉบับพิเศษ การเดินทางหลายมิติ หลากพรมแดน (2551)
ArtCU2551p1 ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 51) ฉบับวาทกรรม ภาพแทน อัตลักษณ์    

#########

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

EconCU2534p3 ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (ธ.ค. 2534) EconCU2536p1 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ม.ค. 1993)
EconCU2536p3 ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (ก.ย. 1993) EconCU2537p1 ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ม.ค. 1994)

#########

ดำรงวิชาการ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

 

ArtSU2551p2 ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค. 51)

#########

โลกหนังสือ

 

ปีที่4 ฉบับที่5 กุมภาพันธ์ (2524)ฉบับรู้จักโลกการ์ตูนของพีนัทส์ ปีที่6 ฉบับที่7 เมษายน (2526) ฉบับวัฒนธรรม“การ์ตูน”

หมายเหตุ

1. หนังสือที่เข้ามา/ได้คืน หลังช่วงปีใหม่ 2010 จะเริ่มไม่ได้เรียงลำดับเล่มที่ออก

2. วารสารที่รวมไว้ในหน้านี้ แสดงว่ามีมากกว่า 1 ฉบับ แต่ก็ยังมีวารสารอีกบางส่วนที่มีแค่เล่มเดียว ดูเพิ่มเติมที่ วารสาร/ จุลสาร

วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

Postmodern Man#1

PostmodernMan1

ชื่อหนังสือ: Postmodern Man#1 คนกับโพสต์โมเดิร์น (บทจำนรรจ์ว่าด้วยมนุษย์ที่ไม่สามารถจัดประเภทได้ เล่ม1)

ผู้แต่ง: ไชยันต์ ไชยพร

สำนักพิมพ์: OpenBooks

แม้ว่าหนังสือเล่มนี้จะไม่ได้เป็นผลงานของอาจารย์ธเนศ วงศ์ยานนาวาโดยตรง แต่โดยส่วนตัวแล้ว คิดว่าหนังสือเล่มนี้ก็เป็นเล่มที่เกี่ยวข้องกับอาจารย์ธเนศอยู่ดี แม้ว่าจะไม่ได้มีการเอ่ยชื่อออกมาตรงๆ เลย แต่ก็คิดว่าน่าจะเป็นที่รู้กันในหมู่ลูกศิษย์ที่เคยเรียนกับทั้งสองคนมาแล้ว ไม่รวมกับคำนำที่อาจารย์ธเนศมาเขียนให้ หรือที่จริงจะเรียกว่า แค่ดูหน้าปกก็รู้แล้ว ฮา

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง

ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง

ประวัติที่เพิ่งสร้าง: รวมบทความเกี่ยวกับกรณี ๑๔ ตุลา และ ๖ ตุลา

ผู้เขียน: สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

ส่วนที่หนึ่ง: จาก 2475 ถึง 14 ตุลา

- ความผิดพลาดทางประวัติศาสตร์ของปรีดี พนมยงค์

- ร. 7 สละราชย์: ราชสำนัก, การแอนตี้คอมมิวนิสต์ และ 14 ตุลา

- พระราชหัตถเลขาสละราชย์ ร.7: ชีวประวัติของเอกสารฉบับหนึ่ง

- ปรีดี พนมยงค์, จอมพล ป., กรณีสวรรคต และรัฐประหาร 2500

- จุดเปลี่ยน 2500: เผ่า, สฤษดิ์ และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

ส่วนที่สอง: 14 ตุลา

- การชำระประวัติศาสตร์ 14 ตุลา ภายใต้พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

- เหมาเจ๋อตง กับขบวนการนักศึกษาไทย

- กงจักรปีศาจ และหนังสือเกี่ยวกับกรณีสวรรคต

ส่วนที่สาม: 6 ตุลา

- เราสู้: เพลงพระราชนิพนธ์การเมือง กับการเมืองปี 2518-2519

- ชนวน: ภาพละครแขวนคอ ที่นำไปสู่กรณี 6 ตุลา

- คืนที่ยาวนาน: การไม่ตัดสินใจสลายการชุมนุมในธรรมศาสตร์ คืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519

- ใครเป็นใครในกรณี 6 ตุลา

- ป๋วย อึ๊งภากรณ์, สล้าง บุนนาค, ธานินทร์ กรัยวิเชียร

- ป๋วย อึ๊งภากรณ์: ปีเกิด, ลูกจีน, 6 ตุลา

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจนอกเหนือจากหนังสือเล่มนี้ ดูที่ http://somsakj.blogspot.com/

วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย. – ก.ย. 2548)

พลิกภาพอัตลักษณ์ไทย

วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย. – ก.ย. 2548) พลิกภาพอัตลักษณ์ไทย ไม่โดดเดี่ยว
ISSN: 1686-0667

รายละเอียดบทความในเล่ม

- ผ้าบรรพบุรุษของชาวมอญ โดย รศ.ดร. พิริยะ ไกรฤกษ์

- กฏหมายกับพัฒนาการของสังคมไทย: จากลักกระแสไฟฟ้ามาสู่ลักสัญญาณโทรศัพท์ โดย ผศ.ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ

- เทียนวรรณกับการเมืองของการพูดในสยาม โดย ผศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

- ผลกระทบของการติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ ต่อกรอบการทำงานด้านเศรษฐกิจมหภาคและผลิตภาพการผลิตของประเทศไทย โดย รศ.ดร. ดาราวรรณ วิรุฬหผล

- การแพทย์แผนไทย: ครรภรักษา โดย เยาวลักษณ์ ขยันการ

- เส้นทางอันโดดเดี่ยวของพระนักคิดไทย โดย พระเมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ

- ทบทวนประสบการณ์สนาม โดย รศ.ดร.ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน์

- บทสัมภาษณ์ ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์ เรื่อง “อธิการบดีสานนโยบายธรรมศาสตร์ก้าวใหม่มหาวิทยาลัยวิจัย”

วารสารศิลปศาสตร์: ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2548)

ArtTU2548p2

วารสารศิลปศาสตร์: ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2548)
ISSN: 1513-9131

รายละเอียดบทความในเล่ม

- ความยุติธรรมกับความเกื้อกูลในจริยศาสตร์สตรีนิยม โดย วัชระ งามจิตรเจริญ

- ติมอร์ตะวันออก: การยึดครอง การแทรกแซง และการพึ่งพิง โดย นภดล ชาติประเสริฐ

- รัฐเก่าในขวดใหม่: การเปลี่ยนแปลงและต่อเนื่องของรัฐและชาติในอุษาคเนย์ โดย ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

- ความเหลื่อมล้ำทางสังคมของผู้หญิงและชายที่สะท้อนให้เห็นจากภาษาญี่ปุ่น โดย อุภาวรรณ เบ็ญจโภคี

- การศึกษาแนวความคิดลัทธิขงจื้อแนวใหม่สมัยเอโดะที่ปรากฏในเรื่องนันโซซาโตมิฮัคเคนเด็นของเคียะคุเท บะคิน โดย ปิยะนุช วิริเยนะวัตร์ (Kyokutei Bakin’s Nansosatomihakkenden)

- การปฏิรูปการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของญี่ปุ่นยุค 2000 โดย วรินทร วูวงศ์

- การปฏิรูประบบอุดมศึกษาในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีตามปฏิญญาโบโลญญ่า โดย นรเศรษฐ์ แก้ววิภาส

- The Role of Peer Collaborative Interaction in a Small Group Reading Activity on EFL Reading Comprehension by Onnicha Sudachit

- Phonetic Reatures of Standard Thai Spoken by Southern Thai Speakers by Varisa Kamakalanavin

- วรรณกรรมโฆษณาชวนเชื่อของกัมพูชา: กรณีศึกษานวนิยายของคงฺค บุนเณีอน โดย เยาวลักษณ์ อยู่เจริญสุข

วารสารศิลปศาสตร์: ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 2549)

ArtTU2549p1

วารสารศิลปศาสตร์: ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 2549)
ISSN: 1513-9131

รายละเอียดบทความในเล่ม

- English, a Global Language for All?: Multiplicity, Challenges and Possibilities by Songthama Intachakra

- A Comparative Study of the EFL Reading Achievement of Students in Large and Small Classes by Kriengsukdi Syananondh and Watana Padgate

- ศักยภาพในการเรียนภาษาอังกฤษของเด็กไทยกับตัวแปรบั่นทอนทางสังคม โดย พิณทิพย์ ทวยเจริญ

- ผลของการใช้คลังข้อมูลภาษาอังกฤษเฉพาะด้านที่มีต่อการแปลระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย โดย ปรีมา มัลลิกะมาส และวิโรจน์ อรุณมานะกุล

- การใช้ภาษาไทยและวิธีเรียนภาษาไทยของนักศึกษานานาชาติ โครงการไทยศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย ธนาวรรณ อยู่ประยงค์

- ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นในจังหวัดชัยภูมิ โดย ปภัสรา คำวชิรพิทักษ์

- นิราศจักรวาล: นิราศยุค 2548 โดย สุภาพร พลายเล็ก

- ภาพผู้หญิงญี่ปุ่นที่สะท้อนในงานเขียนสมัยเมจิ โดย ปิยะนุช วิริเยนะวัตร์

- หน้าที่สื่อสัมพันธ์ของประโยคคำถาม: การเกริ่นนำชักจูงคู่สนทนาเพื่อรักษาปฏิสัมพันธ์ โดย พัชราพร แก้วกฤษฏางค์

- การศึกษาพระธรรมวินัยในพุทธศาสนา: วิวัฒน์หรือวิบัติ? โดย ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์

- อัตตาและท่าทีต่ออัตตาในพุทธศาสนาเถรวาท โดย ณรงค์ฤทธิ์ ยอดแก้ว

- จิตวิทยาพฤติกรรมนิยม จิตวิญญาณนิพพาน และอุเบกขาธรรมในชีวิตกับการทำงาน โดย สิทธิโชค วรานุสันติกูล

- บทกวี Nobody’s Nose by Frank Finney

- พินิจหนังสือ

   1. The Birthday Party by Prapassaree Kramer

   2. อุบัติการณ์ โดย ประคอง เจริญจิตรกรรม

รัฐศาสตร์สาร: ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (2543?)

2543p2

รัฐศาสตร์สาร: ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (2543?)
ISSN: 0125-135X

รายละเอียดบทความในเล่ม

เศรษฐกิจพอเพียงกับสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย
เสน่ห์ จามริก, นิธิ เอียวศรีวงศ์, ชัยวัฒน์ สถาอานันท์, และชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์

ชาติพันธุ์วรรณนาในจารึกวัดพระเชตุพนฯ: บูรพาคดีศึกษา, ภาพตัวแทนของความรู้ และการเขียนตะวันตกของไทย
ทวีศักดิ์ เผือกสม

วัฒนธรรมชนชั้นกลางไทยในละครโทรทัศน์
สมสุข หินวิมาน

อิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อัมวาร อิบรอฮีม

การพรรณนาการเปลี่ยนแปลงจาก “สยามยุคเก่า” เป็น “สยามยุคใหม่” ในงานนิพนธ์ทางประวัติศาสตร์ช่วงทศววรษ 2490 ถึง 2520
วีรศักดิ์ กีรติวรนันท์

วิจารณ์หนังสือเรื่อง “การเมืองของพลเมือง: สู่สหัสวรรษใหม่”
ไพฑูรย์ ดัสเช่

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (ธ.ค. 2534)

 EconCU2534p3

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (ธ.ค. 2534)

รายละเอียดบทความในเล่ม

ศักยภาพทางเศรษฐกิจของอินโดจีน
วีรพงษ์ รามางกูร

ชุมชนจีนบาบ๋าในกรุงเทพ
นภพร เรืองสกุล และอรวรรณ ศรีอุดม

สังคมนิยม: วิกฤตการณ์และการปฏิรูป
วรวิทย์ เจริญเลิศ

มิติของเวลาในกระบวนการดำเนินนโยบายทางการเงินของไทย
สมชาย ชุนรัตน์

ปริศนาโพสต์เคนเชียล
กำชัย ลายสมิต

หมายเหตุเศรษฐกิจไทย

วิจารณ์หนังสือ

สารสนเทศเศรษฐศาสตร์

ดรรชนีปีที่ 3

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ม.ค. 1994)

 EconCU2537p1

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ม.ค. 1994)

รายละเอียดบทความในเล่ม

พัฒนาการของตลาดเงินและตลาดทุนไทยในทศวรรษ 1990
ณัฐพล ชวลิตชีวิน และกอบชัย ฉิมกุล

การลงทุนโดยตรงของญี่ปุ่นและ NIEs ในไทย: มุมมองจากนักเศรษฐศาสตร์ไทย
ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการทำงานของหญิงไทย
กัลยาณี คูณมี

วิจารณ์ "เศรษฐศาสตร์สองกระแส" ของ ดร. กนกศักดิ์ แก้วเทพ
พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์

วิจารณ์หนังสือ
- วิจารณ์หนังสือของรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ และชัยวุฒิ ชัยพันธุ์โดย ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ และสมชัย สัจจพงษ์

สารสนเทศเศรษฐศาสตร์

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (ก.ย. 1993)

 EconCU2536p3

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (ก.ย. 1993)

รายละเอียดบทความในเล่ม

ภูมิศาสตร์และภูมิยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจไทย
ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

เส้นทางเศรษฐกิจเชื่อมไทยกับจีนภาคใต้
สมเกียรติ โอสถสภา

การลงทุนโดยตรง การค้าระหว่างประเทศ และการเปลี่ยนแปลงในผลผลิตจริงของระบบเศรษฐกิจไทย: การศึกษาทางเศรษฐมิติอนุกรมเวลา
เชาว์ เก่งชน

จากความทุกข์ถึงความจน: วิวัฒนาการของแนวความคิดเกี่ยวกับทรัพย์ในสังคมไทย
แล ดิลกวิทยรัตน์

วิจารณ์หนังสือ
- วิจารณ์หนังสือของตีรณ พงศ์มฆพัฒน์, รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, วรวิทย์ เจริญเลิศ โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, วิทยากร เชียงกูล, อนุสรณ์ ลิ่มมณี

สารสนเทศเศรษฐศาสตร์

ดรรชนีปีที่ 5

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ม.ค. 1993)

 EconCU2536p1

วารสารเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์: ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ม.ค. 1993)

รายละเอียดบทความในเล่ม

พฤติกรรมของราคาวอร์แรยท์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สันติ ถิรทรัพย์

การประมาณการแบบจำลองเศรษฐมิติโดยวิธีโรบัสรีเกรสชัน
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์

การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับรายจ่ายของภาครัฐ: ศึกษากรณีประเทศไทย
สมชาย หาญหิรัญ และสุวพร ศิริคุณ

ว่าด้วยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ
กนกศักดิ์ แก้วเทพ

หมายเหตุเศรษฐกิจไทย
- ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับมณฑลภาคใต้ของจีน
สมเกียรติ โอสถสภา

- การค้าระหว่างไทยกับกลุ่มอาเซียนในสินค้าที่มีการลดภาษีแบบเร่งด่วน
ไพฑูรย์ วิบูลชุติกุล

สารสนเทศเศรษฐศาสตร์

วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2549) ฉบับ วรรณกรรมระอาสังคม

  ArtCU2549p1

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2549)
ฉบับ วรรณกรรมระอาสังคม

ISSN: 0125-4820

รายละเอียดบทความในเล่ม

ประจักษ์พยานนิยายจากทุ่งสังหารกัมพูชา: ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและหน้าที่ของวรรณกรรม
ใกล้รุ่ง อามระดิษ

ตำรา ตำรับ ทัพพี: อิสตรีกับการสร้างประวัติศาสตร์
ชุติมา ประกาศวุฒิสาร

ความเป็นจริงกับจินตนาการในนวนิยายของมาร์เกอริท ยูร์เซอนาร์ เรื่อง เมมัวร์ ดาเดรียง เรื่อง เลิฟร์ โอ นัวร์ และเรื่อง เอิง นอม ออบสกูร์
พวงคราม พันธ์บูรณะ

กวีนิพนธ์ระอาสงครามของฝรั่งเศสจากยุคกลางถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
พูนศรี เกตุจรูญ

สภาพสังคมภายหลังสงครามกลางเมืองสเปนที่สะท้อนผ่านนวนิยายเรื่อง Nada
เพ็ญพิสาข์ ศรีวรนารถ

วิคตอรีนี กับ ชิซีลี ใน Conversazione in Sicillia
วิสาสินีย์ แฝงยงค์

ดีหรือชั่ว: มุมมองจากภาษิตและสำนวนญี่ปุ่น
ชวาลิน เศวตนันทน์

หน้าที่ของฤดูกาลในวรรณกรรมเรื่อง เก็นจิโมะโนะงะตะริ
อรรถยา สุวรรณระดา