วันอังคารที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2557

หลอน รัก สับสน ในหนังไทย: ภาพยนตร์ไทยในรอบามทศวรรษ (พ.ศ.2520-2547) กรณีศึกษาตระกูลหนังผี หนังรัก และหนังยุคหลังสมัยใหม่

หลอนรักสับสนในหนังไทย

ชื่อเรื่อง: หลอน รัก สับสน ในหนังไทย: ภาพยนตร์ไทยในรอบามทศวรรษ (พ.ศ.2520-2547) กรณีศึกษาตระกูลหนังผี หนังรัก และหนังยุคหลังสมัยใหม่

ผู้เขียน: กำจร หลุยยะพงศ์ และสมสุข หินวิมาน

สำนักพิมพ์: ศยาม, 2552

ISBN: 978-611-7122-07-1

สารบัญ


1 ภาพยนตร์ไทยในรอบามทศวรรษ (พ.ศ.2520-2547): กรณีศึกษาตระกูลหนังผี หนังรัก และหนังยุคหลังสมัยใหม่

2 ตระกูลหนังผี: ความลึกล้ำของสุนทรียะและโลกทัศน์ในหนังผีไทย

3 ตระกูลหนังรัก: ถอดรหัสรัก (ที่ไม่ลับ) ของภาพยนตร์รักไทย

4 ตระกูลหนังหลังยุคสมัยใหม่: การเลี้ยวหักศอกของหนังไทย

5 บทสรุปแห่งความต่อเนื่อง และความเปลี่ยนแปลงของภาพยนตร์ไทยในรอบสามทศวรรษ

จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่

จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่

ชื่อเรื่อง: จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่

ผู้เขียน: ภูวดล ทรงประเสริฐ

สำนักพิมพ์: แบรนด์เอจ, 2547

ISBN: 974-92564-1-7

สารบัญ
1 บทนำ

2 ภูมิหลังของชาวจีนโพ้นทะเล
- ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- วิวัฒนาการของชุมชนจีนโพ้นทะเล
- ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในจีน
- การเปลี่ยนแปลงของสังคมจีนโพ้นทะเล
- การต่อต้านญี่ปุ่น
- ชะตากรรมของชาวจีนโพ้นทะเล

3 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงเปลี่ยนผ่าน
- ปฏิกิริยาของชาวจีนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
- ชาวจีนกับการกำเนิดสหพันธ์มลายา
- ปัญหาของชุมชนจีนในสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
- นโยบายของรัฐบาลไทยและฟิลิปปินส์
- ชุมชนจีนในพม่า เวียดนาม ลาว และกัมพูชา
- ปักกิ่งกับปัญหาจีนโพ้นทะเล

4 ปฏิสัมพันธ์ของปัญหาชาวจีน
- การสถาปนามาเลเซีย
- จลาจลทางเชื้อชาติในอินโดนีเซีย
- ปัญหาบานปลายในมาเลเซีย
- การสร้างชาติของชาวจีนในสิงคโปร์
- การเปลี่ยนแปลงของชุมชนจีนในฟิลิปปินส์และไทย
- ปัญหาชาวจีนในเวียดนาม ลาว กัมพูชา และพม่า

5 พัฒนาการของทุนจีนโพ้นทะเล
- ทุนจีนในไทย
- ทุนจีนในฟิลิปปินส์
- ทุนจีนในอินโดนีเซีย
- ทุนจีนในมาเลเซีย
- ทุนจีนในสิงคโปร์

6 สถานภาพและบทบาทของผู้มีเชื้อสายจีน
- การเปลี่ยนแปลงของชุมชนและสถานภาพทางสังคม
- การมีส่วนร่วมทางการเมือง
- การสร้างสายสัมพันธ์กับแผ่นดินใหญ่
- ทุนจีนโพ้นทะเลกับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก

7 สรุป

"นายใน" สมัยรัชกาลที่ 6

นายใน

ชื่อเรื่อง: "นายใน" สมัยรัชกาลที่ 6

ผู้เขียน: ชานันท์ ยอดหงษ์

สำนักพิมพ์: มติชน, 2556

ISBN: 978-974-02-1088-7

สารบัญ


คำนำเสนอ
- รศ.ดร. ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์
- รศ. ธเนศ วงศ์ยานนาวา
คำนำผู้เขียน

1 บทนำ

2 "นายใน" กับพระราชสำนักรัชกาลที่ 6
- ลักษณะโครงสร้างพระราชสำนักฝ่ายในชาย
- บทบาทหน้าที่ของนายใน
- วิถีชีวิตของนายใน

3 นายในทรงโปรดในรัชกาลที่ 6
- เจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล. เฟื้อ พึ่งบุญ ณ อยุธยา พ.ศ.2433-2510)
- พระยาอนิรุทธเทวา (ม.ล. ฟื้น พึ่งบุญ ณ อยุธยา พ.ศ.2436-2494)
- พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์ พ.ศ.2550-2514)
- พระยาคฑาธรบดีสีหราชบาลเมือง (เทียบ อัศวรักษ์ พ.ศ.2428-2512)

4 กิจกรรมภายในพระราชสำนักฝ่ายชาย
- คณะโขนละคร
- เสือป่า-ลูกเสือ
- โรงเรียนกินนอนชายล้วน
- สโมสรและชุมชนจำลอง

5 เพศภาวะชายและ "ความเป็นชาย" ตามพระราชนิยมที่มีอิทธิพลต่อนายใน
- รักชาติ รักกษัตริย์
- สุขภาพแข็งแรง ร่างกายกำยำ
- อยู่ห่างจากผู้หญิง
- รักการผจญภัยและธรรมชาติ
- มีความรักระหว่างผู้ชายด้วยกัน

6 เพศภาวะของนายใน
- ในฐานะนายใน
- ในฐานะนายละคร
- ในฐานะเสือป่าและลูกเสือ
- ในฐานะนักเรียนโรงเรียนกินนอนชายล้วน
- ในฐานะสมาชิกสโมสรและชุมชนจำลอง

7 "นายใน" และพระราชสำนักฝ่ายในชายในบริบทสังคมการเมือง
- พื้นที่ปลอดภัยทางการเมืองของรัชกาลที่6
- พื้นที่ปลอดภัยของชายรักชายและชายแต่งหญิง
- พื้นที่สร้างวัฒนธรรมวิคตอเรียนแบบท้องถิ่น (Localized Victorian)

หมายเหตุ
- ชื่อวิทยานิพนธ์ "นายใน": ชีวิตทางสังคมชายล้วนและเพศภาวะในพระราชสำนักพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว สาขาสตรีศึกษา วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554

 

วันจันทร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2557

วิจักษ์วิจารณ์วรรณกรรมฝรั่งเศส

วิจักษณ์วิจารณ์วรรณกรรมฝรั่งเศส

 

ชื่อเรื่อง: วิจักษ์วิจารณ์วรรณกรรมฝรั่งเศส

ผู้แต่ง: นพพร ประชากุล

สำนักพิมพ์: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2546

ISBN: 978-7790-02-2

สารบัญ

- ภาพรวมวรรณกรรมฝรั่งเศสจากอดีตถึงปัจจุบัน

- บทเพลงอัศวินโรล็องต์: มหากาพย์ประจำชาติของฝรั่งเศส

- ราบเลส์ ยักษ์ใหญ่แห่งยุคเรอเนสซ็องส์

- ฟีดรา ราชินีแห่งโศกนาฏกรรม

- วอลแตร์ เจ้าของปากกาที่คมกว่าอาวุธ

- รุสโซ กับอุดมคติแห่งธรรมชาติ

- สองบทกวีโรแมนติกของวิกเตอร์ ฮูโก

- โฟลแบรต์และเอ็มมา กับการปฏิวัตินวนิยาย

- โฟลแบรต์และดฟรเดริก กับการบ่อนเซาะเรื่องเล่า

- โบดแลร์ กวีผู้ปั้นโคลนให้เป็นทอง

- พรุสต์: ตัวตน กาลเวลา วรรณกรรม

- “สัจบท” ในนวนิยายเรื่อง La Prisonniere ของมาร์แซ็ล พรุสต์

- เหยือกแก้วในลำน้ำวิว็อน กับขั้นตอนการทำงานของนักประพันธ์อัจฉริยะ

- จากแอนทิโกนีถึงอันตราคนี: วิญญาณขบถในสองบริบท

 

วันอาทิตย์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2557

มองสังคมผ่านชีวิตในชุมชน

มองสังคมผ่านชีวิตในชุมชน

 

ชื่อเรื่อง: มองสังคมผ่านชีวิตในชุมชน

ผู้แต่ง: ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์

สำนักพิมพ์: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2553 (ลำดับที่ 87)

ISBN: 978-616-7154-01-5

สารบัญ

- มองสังคมผ่านชีวิตในชุมชน “เจ้า-ชาวบ้าน” ด้วยสายตาของ “เจ้าชาวบ้าน” ที่ชื่อ อาจารย์ (ม.ร.ว.) อคิน รพีพัฒน์ โดย พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

- ความในใจของผู้เขียน

- บทนำ: ประวัติชีวิตกับรายงานของนักมานุษยวิทยา

ตอนที่1 : หลายชีวิต

1 ตรอกใต้ วัดญวณสะพานขาว: เวทีของหลายชีวิต

2 คุณชายนักร่อนทองกับแม่ชี

3 พระเอกลิเกผู้กลายเป็นช่างตัดผม

4 พ่อพระผู้เคยเป็นฆาตกร

5 วัยรุ่นเกเรกับแม่ค้าคนงก

6 บุคคลตัวอย่างที่วัยรุ่นเรียกว่า “ไอ้เศรษฐี”

7 เท้าแชร์หญิงผู้หลงถิ่น

8 ชีวิตที่หักเหของช่างกระเบื้อง

9 ความแค้นของยามเฝ้าชุมชน

10 พระเอกของโศกนาฏกรรมในสลัม

ตอนที่2: วิเคราะห์สังคมผ่านชีวิตในชุมชน

11 บริบทชุมชน: มหภาคและจุลภาค

12 ประวัติชีวิต: เลือกใคร เพราะเหตุใด

13 การเมืองท้องถิ่น: วิเคราะห์เชิงโครงสร้าง

14 โลกทัศน์ ทัศนะต่อชีวิตและสังคม

15 ญาติ: ความสำคัญในชุมชน

16 เพื่อน พรรคพวก พวกพ้อง และผู้อุปถัมภ์ในชุมชนสลัม

17 การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม

18 ส่งท้าย และมองสู่อนาคต

วัฒนธรรมต่อต้าน

วัฒนธรรมต่อต้าน

 

ชื่อเรื่อง: วัฒนธรรมต่อต้าน

บรรณาธิการ: ยุกติ มุกดาวิจิตร

สำนักพิมพ์: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2556 (ลำดับที่ 97)

ISBN: 978-616-7154-19-0

 

สารบัญ

- วิธีวิทยาศึกษาวัฒนธรรมต่อต้าน โดย ยุกติ มุกดาวิจิตร

- โลกของบัคตินและการต่อต้าน โดย ปรีดีโดม พิพัฒน์ชูเกียรติ

- การศึกษา Popular Culture แบบเอ็ดเวิร์ด ธอมป์สัน โดย นันทวัฒน์ ฉัตรอุทัย

- พังค์กับสัมพัทธนิยมของการปะทะต่อต้าน โดย อธิป จิตตฤกษ์

- ศิลปะสาปสยอง: แฟนหนังกับการเมืองของการต่อต้านวะฒนธรรมกระแสหลักในภาพยนตร์สยองขวัญสมัยใหม่ โดย อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง

เพศหลากเฉดสี: พหุวัฒนธรรมทางเพศในสังคมไทย

เพศหลากเฉดสี

ชื่อเรื่อง: เพศหลากเฉดสี: พหุวัฒนธรรมทางเพศในสังคมไทย

บรรณาธิการ: นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ และปีเตอร์ เอ. แจ็คสัน

สำนักพิมพ์: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2556 (ลำดับที่ 101)

ISBN: 978-616-7154-21-3

สารบัญ

- Cultural Pluralism and Sex/ Gender Diversity in Thailand: Introduction โดย Perter A. Jackson

- บทนำ “ลูกผสม” ของวัฒนธรรมทางเพศในสังคมไทย โดย นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ

- ผู้สาวหน้าฮ้านหมอลำ ความสัมพันธ์ระหว่างกะเทยและผู้ชายในคอนเสิร์ตหมอลำอีสาน โดย พรเทพ แพรขาว

- พิธีกรรมทรงผีเจ้านาย: พื้นที่เปิดทางเพศภาวะในสังคมล้านนา โดย สุระ อินตามูล

- “เฉดความเป็นชาย” บนร่างของโคโยตี้บอย ภาพสะท้อนวัฒนธรรมบริโภคของเกย์กรุงเทพฯ โดย นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ

- นางยี่เกชาย สิ่งชำรุดในยุครัฐนิยม: เรื่องเล่าชีวิตนางยี่เกชายผ่านวรรณกรรม โดย สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ

- รักสองเพศของผู้หญิง ทางเลือกของความปรารถนา และการค้นหานิยามอัตลักษณ์ โดย สุไลพร ชลวิไล

หมายเหตุ เล่มนี้มีการรวบรวมศัพท์ที่น่าสนใจ ที่บางคำมีทั้งการแปล และทับศัพท์ไว้ด้วย

วันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัตืศาสตร์ภูมิกายาของชาติ

กำเนิดสยามจากแผนที่

ชื่อเรื่อง: กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัตืศาสตร์ภูมิกายาของชาติ

ผู้เขียน: ธงชัย วินิจจะกูล

ผู้แปล: พวงทอง ภวัครพันธุ์, ไอดา อรุณวงศ์, พงษ์เลิศ เพชรวนานต์

สำนักพิมพ์: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ และสำนักพิมพ์อ่าน, 2556

ISBN: 978-616-7158-26-6 (ปกอ่อน)

สารบัญ

บทนำ การดำรงอยู่ของความเป็นชาติ

- ทวิวิถีของการนิยามความเป็นชาติ

- การนิยามความเป็นไทยในทางตรงและทางกลับ

- ไทยศึกษา

- การปะทะการต่อสู่ของการตีความ

- สยามในฐานะประดิษฐกรรมทางวัฒนธรรม

- ขอบเขตและวิธีการศึกษา

บทที่1 ภูมิของคนพื้นถิ่นและแผนที่โบราณ

- ภูมิลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์

- ภาพของพื้นที่/ ภูมิในจินตนาการ: แผนที่โบราณ

- การอยู่ร่วมกันของมโนทัศน์ต่างชนิดต่อพื้นที่/ ภูมิ

บทที่2 ภูมิศาสตร์แบบใหม่กำลังมา

- สองโลก เทศะเดียวกัน: กำเนิดของโลกแบบสมัยใหม่

- การฝ่าทะลวง: ดาราศาสตร์ผ่านโหราศาสตร์

- พื้นที่/ ภูมิประเทศใหม่: ภูมิศาสตร์สมัยใหม่

- เทศะใส่รหัส: แผนที่สมัยใหม่

แบบวิถีของการเปลี่ยนแปลง: ความกำกวมและการเข้าแทนที่

บทที่3 เส้นเขตแดน

- เส้นเขตแดนแบบตะวันตกด้านชายแดนตะวันตก

- การปะทะกันของมโนภาพต่อเส้นเขตแดน

- อาณาจักรที่เขตแดนล้อมไม่รอบ

บทที่4 อำนาจอธิปัตย์

- ความสัมพันธ์แบบเป็นลำดับขั้นระหว่างรัฐ

- อธิปไตยร่วม: ยุทธศาสตร์เพื่อความอยู่รอด

- อธิปไตยซ้อนและชาวยุโรป

บทที่5 ชายขอบ

- ชายขอบที่ซ้อนทับกัน

- การก่อร่างพื้นที่ “ของเรา”

- ชายขอบใหม่: สยามและอังกฤษ

- การอุบัติของรอยต่อระหว่างพรมแดนด้วยกำลังทหาร

บทที่6 แผนที่: เทคโนโลยีใหม่ของพื้นที่/ ภูมิ

- สยามในแผนที่ของชาวตะวันตก

- การทำแผนที่แบบตะวันตกในสยาม

- การสร้างพื้นที่ “ของเรา” ด้วยแผนที่

- ศึกแผนที่: เมื่ออาวุธร้ายแรงแผลงฤทธิ์

บทที่7 ภูมิกายา

- กำเนิดภูมิกายา: ชัยชนะของแผนที่

- ภูมิกายามีอำนาจ

- เลยพันดินแดนและภูมิศาสตร์

บทที่8 ภูมิกายาและประวัติศาสตร์

- บาดแผลของวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112  กับอดีตที่ไม่ต่อเนื่อง

- ภูมิกายาในอดีตของไทย

- แผนที่ประวัติศาสตร์

- อดีตโดนโครงเรื่องบังคับ (อดีตโดนวางยา)

- อดีตผลิตใหม่

บทสรุป ภูมิกายา ประวัติศาสตร์ และความเป็นชาติ

- การสร้างตัวตนของเรากับความเป็นอื่น

- หน้าที่ของศัตรู

- ชายแดนของความเป็นไทย

- พลังอำนาจของสัญลักษณ์

- คำส่งท้าย

วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557

บ้านและเรื่องในบ้าน: ครอบครัว รัฐ และการเมืองวัฒนธรรม

บ้านและเรื่องในบ้าน

ชื่อเรื่อง: บ้านและเรื่องในบ้าน: ครอบครัว รัฐ และการเมืองวัฒนธรรม

ผู้เขียน: สายพิณ ศุพุทธมงคล

สำนักพิมพ์: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2555

ISBN: 978-616-7150-29-1

สารบัญ

- ที่มา-ที่ไป

- คาปัว

- หมอนวด-นักมานุษยวิทยา: ร่างกาย สัมผัส และมารยาท

- พ่อค้าแห่งคาปัว กับเสี้ยวประวัติศาสตร์ของร่างกาย

- มือของแม่บ้าน: การเมืองวัฒนธรรมกับร่างกาย

- โรคร้ายของโจวานนี: การอุปถัมภ์-บุญคุณ หน้าตา-ความอับอาย

- เยี่ยมสุสาน: การเสื่อมสูญของร่างกายและการธำรงครอบครัว

- เรื่องของสะใภ้: เครือญาติ และวัฒนธรรมการเมือง

- ร่างกายคนอื่น ร่างกายของนักมานุษยวิทยา

- มะเร็งของซิลวานา: สังเกต-สัมผัสอย่างมีส่วนร่วม

- สัมผัสร่าง ฟังเรื่องเล่า เข้าใจผู้คน ครอบครัว และสังคม

ส่วนตัว คำนำเล่มนี้เขียนโดยอาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ นอกจากกล่าวถึงที่มาของคบไฟ ปริมาณงานวิจัย สอดแทรกสถานการณ์การเมืองแบ่งขั้วในปัจจุบันแล้ว งานวิจัยปริญญาเอกที่ทำอิตาลีตอนใต้โดยคนไทยแบบนี้ก็น่าสนใจมาก

พื้นถิ่นแผ่นดินจีน: สังคมวิทยาชนบทจีน

พื้นถิ่นแผ่นดินจีน

ชื่อเรื่อง: พื้นถิ่นแผ่นดินจีน: สังคมวิทยาชนบทจีน

ผู้เขียน: ศาสตราจารย์เฟ่ยเสี้ยวทง

ผู้แปล: พรชัย ตระกูลวรานนท์ 

สำนักพิมพ์: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2553

ISBN: 978-616-7150-04-8

สารบัญ

- คำนิยม  โดยศาสตราจารย์เผย์เสี่ยวรุ่ย

- คำนำ โดย ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน์

- คำนำของผู้แปล

- ประวัติสังเขปของศาสตราจารย์เฟ่ยเสี้ยวทง

- บทนำ โดย รองศาสตราจารย์ธเนศ วงศ์ยานนาวา: “ขั้วความขัดแย้ง” ที่ไม่แย้งของจีน

1 ธรรมชาติของสังคมชนบทจีน

2 การนำตัวหนังสือสู่ชนบท

3 ข้อพิจารณาเพิ่มเติมในการนำตัวหนังสือสู่ชนบท

4 การรวมกลุ่มที่หลากวิถี

5 ศีลธรรมว่าด้วยความสัมพันธ์ส่วนบุคคล

6 สายตระกูล

7 จารีตกับความแตกต่างระหว่างชายหญิง

8 การปกครองโดยจารีตพิธี

9 สังคมที่ปราศจากคดีความ

10 การปกครองที่ไม่ปกครอง

11 การปกครองโดยระบบอาวุโส

12 ความผูกพันทางสายโลหิตและความผูกพันทางที่ดิน

13 การแยกกันระหว่างนามกับสาระ

14 จากความปรารถนาสู่ความจำเป็น

บทส่งท้าย

ส่วนตัว หนังสือเล่มนี้ซื้อมาเพราะอาจารย์ธเนศเขียนบทนำให้แท้ๆ เลย ทำให้ได้อ่านผลงานดีๆ ชิ้นนี้ สิ่งที่น่าสนใจมากคือ ประวัติของผู้แต่ง และผลงานที่ผ่านมานาน แต่หลายอย่างก็อยู่ในจารีตปัจจุบัน

 

ภาษาเพศในสังคมไทย: อำนาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

ภาษาเพศ

ชื่อเรื่อง: ภาษาเพศในสังคมไทย: อำนาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

ผู้แต่ง: พิมพวัลย์ บุญมงคล, สุไลพร ชลวิไล, มลฤดี ลาพิมล, รณภูมิ สามัคคีคารมย์

สำนักพิมพ์: ภาคีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ, โครงการจัดตั้งสำนักงานศึกษานโยบายสาธารณสุข สวัสดิการ และสังคม, คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2551

ISBN: 978-974-11-0750-6

สารบัญ

บทนำ

ส่วนที่1 เพศภาวะ

- รักนวลสงวนตัว

- ขึ้นคาน

- ขุนแผน

- สินสอด

ส่วนที่2 สรีระทางเพศ

- หี

- ควย

- อึ๋ม

ส่วนที่3 การปฏิบัติทางเพศ

- เอากัน

- ช่วยตัวเอง

- ใช้ปาก

- ตุ๋ย

- เสร็จ

- สวิงกิ้ง

ส่วนที่4 เพศวิถี

- กะเทย

- หญิงรักหญิง

- ชายรักชาย

- กึ๊ก

- โป๊

- หื่น

- เรื่องเพศ

- โสเภณี

บทส่งท้าย

 

วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

พจนานุกรมคำใหม่ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?SystemModuleKey=424&SystemMenuID=1&SystemMenuIDS=

มีศัพท์ที่หลากหลาย ไม่เฉพาะเจาะจงเป็นศัพท์วัยรุ่นเท่านั้น