วันอังคารที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2557

"นายใน" สมัยรัชกาลที่ 6

นายใน

ชื่อเรื่อง: "นายใน" สมัยรัชกาลที่ 6

ผู้เขียน: ชานันท์ ยอดหงษ์

สำนักพิมพ์: มติชน, 2556

ISBN: 978-974-02-1088-7

สารบัญ


คำนำเสนอ
- รศ.ดร. ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์
- รศ. ธเนศ วงศ์ยานนาวา
คำนำผู้เขียน

1 บทนำ

2 "นายใน" กับพระราชสำนักรัชกาลที่ 6
- ลักษณะโครงสร้างพระราชสำนักฝ่ายในชาย
- บทบาทหน้าที่ของนายใน
- วิถีชีวิตของนายใน

3 นายในทรงโปรดในรัชกาลที่ 6
- เจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล. เฟื้อ พึ่งบุญ ณ อยุธยา พ.ศ.2433-2510)
- พระยาอนิรุทธเทวา (ม.ล. ฟื้น พึ่งบุญ ณ อยุธยา พ.ศ.2436-2494)
- พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์ พ.ศ.2550-2514)
- พระยาคฑาธรบดีสีหราชบาลเมือง (เทียบ อัศวรักษ์ พ.ศ.2428-2512)

4 กิจกรรมภายในพระราชสำนักฝ่ายชาย
- คณะโขนละคร
- เสือป่า-ลูกเสือ
- โรงเรียนกินนอนชายล้วน
- สโมสรและชุมชนจำลอง

5 เพศภาวะชายและ "ความเป็นชาย" ตามพระราชนิยมที่มีอิทธิพลต่อนายใน
- รักชาติ รักกษัตริย์
- สุขภาพแข็งแรง ร่างกายกำยำ
- อยู่ห่างจากผู้หญิง
- รักการผจญภัยและธรรมชาติ
- มีความรักระหว่างผู้ชายด้วยกัน

6 เพศภาวะของนายใน
- ในฐานะนายใน
- ในฐานะนายละคร
- ในฐานะเสือป่าและลูกเสือ
- ในฐานะนักเรียนโรงเรียนกินนอนชายล้วน
- ในฐานะสมาชิกสโมสรและชุมชนจำลอง

7 "นายใน" และพระราชสำนักฝ่ายในชายในบริบทสังคมการเมือง
- พื้นที่ปลอดภัยทางการเมืองของรัชกาลที่6
- พื้นที่ปลอดภัยของชายรักชายและชายแต่งหญิง
- พื้นที่สร้างวัฒนธรรมวิคตอเรียนแบบท้องถิ่น (Localized Victorian)

หมายเหตุ
- ชื่อวิทยานิพนธ์ "นายใน": ชีวิตทางสังคมชายล้วนและเพศภาวะในพระราชสำนักพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว สาขาสตรีศึกษา วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554

 

ไม่มีความคิดเห็น: