วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553

มาจาก(คนละ)ฟากฟ้าของเพิงผา

 

มาจาก(คนละ)ฟากฟ้าของเพิงผา: สู่การทลายเส้นแบ่งของวิธีวิทยาทางโบราณคดี วลีในมานุษยวิทยาและมายาในศิลปกรรม

13-30 มิถุนายน 2551

ณ อาคารตึกใต้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ

จัดโดย คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

สารบัญประกอบด้วย

- คำนำ
- พันปีผีแมน โดย ชมัยภร แสงกระจ่าง
- จากเพิงผาถ้ำลอดสู่เพิงผาบ้านไร่... สู่การทลายเส้นแบ่งของวิธีวิทยาทางโบราณคดี โดย รัศมี ชูทรงเดช
- บทสำรวจนิทรรศการ: การจัดและการวางศิลปะ "ที่นั่น" กับ "ที่นี่" โดย สุรกานต์ โตสมบุญ
- ผลงานของศิลปิน
- เด็กๆ กับโลกที่เขาอาศัยอยู่ และโลกที่คิดว่ามีอยู่จริง: กิจกรรมศิลปะเด็ก ณ โรงเรียนศูนย์ปางมะผ้าฯ (บ้านไร่) และโรงเรียนบ้านถ้ำลอด โดย ชล เจนประภาพันธ์
- บันทึกภาพถ่ายชุมชน: จากคนละกรอบสายตาที่ถักทอเป็นสายใย โดย วิภาช ภูริชานนท์
- ผีแมน ม้ง เมือง และไทใหญ่: จากเสียงสู่การข้ามพรมแดน เวลา เชื้อชาติ และวัฒนธรรม โดย อโณทัย นิติพน
- บทแนะนำสารคดี: มาจาก(คนละ)ฟากฟ้า... บทสนทนาระหว่างศาสตร์โบราณคดีและสุนทรียะทางศิลปะ
- ศิลปะ:ชุมชน:โบราณคดี:ตัวบท:ทัศนาธิปัตย์ โดย ธเนศ วงศ์ยานนาวา
- ทุกข์ที่มัวพร่าและปรารถนาของ(ผม)กวีตะวันออก โดย สายัณห์ แดงกลม
- ประมวลภาพโครงการ
- ประมวลภาพงานออกแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ และบทความของโครงการฯ
- คำขอบคุณ

ปล. หนังสือเล่มนี้ได้ความกรุณาจากอาจารย์สายัณห์ แดงกลม

ข้ามขอบฟ้า: 60 ปี ชิเกฮารุ ทานาเบ

 ข้ามขอบฟ้า

บรรณาธิการ: ขวัญชีวัน บัวแตง, อภิญญา เฟื่องฟูสกุล
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2550
ISBN: 978-974-7266-75-7

ถ้อยแถลงจากบรรณาธิการ

คำกล่าวนำ:
- อานันท์ กาญจนพันธุ์
- Norio Kanie

ปาฐกถาพิเศษ:
- ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
- ฉลาดชาย รมิตานนท์
- Paul Cohen

บทความ:
- เวียงแหง: สถานที่แห่งความเกลียดชังหรือพื้นที่ของความหวัง โดย สุรสม กฤษณะจูฑะ
- บัลเล่ต์กับคนไทย: ว่าด้วยร่างร่วมสมัย - ทุนในสังคมเมือง โดย จริยา ทรัพย์ชาติอนันต์
- เชื้อชาติ-ชาติพันธุ์ การแพทย์ และชะตากรรมของคนชายขอบ โดย มาลี สิทธิเกรียงไกร
- ชุมชนตะละกู่ที่เลตองคุ: การปรับตัวสร้างมโนภาพและการปฏิบัติ โดย ขวัญชีวัน บัวแตง
- พุทธยูโทเปีย: กรณีชุมชนศีรษะอโศก โดย กนกศักดิ์ แก้วเทพ
- Internal dynamism of "Kathoei's Sexualities" in Modern Thailand โดย เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา
- Managing Morality: Religion and Gender in the Area of Muslim-Buddhist Co-residence in Southern Thailand by Ryoko Nishii
- Changing Ritual of Tai Lue in the Recent Transnational Movement: The Case Study on the Tai-Lue Villages in Nan Province, Northern Thailand by Yuji Baba
- เจ้าหลวงคำแดงแห่งดอยเชียงดาว โดย ไพฑูรย์ ดอกบัวแก้ว
- ปรับ 'ลิ้นจีน'ให้เป็น 'ลิ้นไทย' โดย ธเนศ วงศ์ยานนาวา

บทอภิปราย:
- "ทฤษฏีตะวันตกกับความเป็นจริงในสังคมไทย" โดย อานันท์ กาญจนพันธุ์, ยศ สันตสมบัติ, ธีรยุทธ บุญมี, ธเนศ วงศ์ยานนาวา ดำเนินรายการโดย ไชยันต์ รัชชกูล

คำบรรยายท้ายการสัมมนา
- ชิเกฮารุ ทานาเบ

ชิเกฮารุ ทานาเบ: ความคิด งานและชีวิต
- บทสัมภาษณ์
- ประวัติและผลงาน
- ประมวลภาพ

รัฐ จากมุมมองของชีวิตประจำวัน 2

รัฐ จากมุมมองของชีวิตประจำวัน 2

หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 6 เรื่อง วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2551
ISBN: 978-974-05-6834-3

วรรณกรรมจีนพลัดถิ่นกับการผลิตซ้ำอุดมการณ์ผนวกรวมในบริบทสังคมไทย
นัทธนัย ประสานนาม

แม่ฮ่องสอนกับการสร้างความทรงจำบนผืนแผ่นดินของคนหลากชาติพันธุ์
พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

หญิง ชาย รัฐ: การสื่อสารความรุนแรงต่อผู้หญิงในยุคบุกเบิกกระแสสตรีนิยมในประเทศไทย
ชเนตตี ทินนาม

อุทยานโบราณคดี สู่อุทยานประวัติศาสตร์: กระบวนการเปลี่ยนแปลงแหล่งโบราณคดีสู่ระบบการท่องเที่ยว
กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์

"โบราณคดีชุมชน" กับการโน้มรัฐให้รับรองสิทธิของชุมชนพลัดถิ่นในการจัดการอดีต
สายัณห์ ไพรชาญจิตร์

รัฐ จากมุมมองของชีวิตประจำวัน 1

รัฐ จากมุมมองของชีวิตประจำวัน 1

หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 6 เรื่อง วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2551
ISBN: 978-974-05-6898-8

มานุษยวิทยาว่าด้วยรัฐ: บทสำรวจความคิดและพลังของมานุษยวิทยา
ยศ สันตสมบัติ

อนาคตการศึกษาเรื่องรัฐในสังคมไทย
ธงชัย วินิจจะกูล

บ้านของชาวลื้อคืนถิ่น
วสันต์ ปัญญาแก้ว

วันชาติมอญ: ทบทวนแนวคิดมานุษยวิทยาเรื่อง "รัฐ"
นิติ ภวัครพันธุ์ และสุกัญญา เบานิด

ไทยพลัดถิ่นในและจากมณฑลตะนาวศรีกับปัญหารัฐ-ชาติ
ฐิรวุฒิ เสนาคำ

The View from the Bottom-Up: Anthoropological Approaches to Gender and the State
Katherine A. Bowie

ทัศนะจากล่างขึ้นบน: แนวการศึกษาทางมานุษยวิทยาว่าด้วยเพศสภาพและรัฐ
แคทเธอรีน เอ. บาววี

วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง 2

วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง 2

หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2549
ISBN: 974-94148-2-9

โลกาภิวัฒน์กับตรรกะใหม่ของความรุนแรง: Globalization and New Logics of Violence
ฐิรวุฒิ เสนาคำ

ศาสตร์และศิลป์ของความรุนแรงอันไร้รูป
สายัณห์ แดงกลม

เด็กชายก้อนหินกับการตามหาหนทางสู่สันติภาพ
พิมลาพร วงศ์ชินศรี

ความรุนแรงในวรรณกรรมจินตนาการวิทยาศาสตร์ไทย: อันตรายที่น่าหวาดหวั่น
พรวิภา วัฒรัชนากูล

ผู้หญิง จินตทัศน์ และความขัดแย้งในเวียดนามสมัยจารีต: กรณีศึกษาผู้หญิงในราชสำนักเวียดนาม ตั้งแต่ยุคเริ่มเอกราชถึงราชวงศ์เจิ่น (ค.ศ.939-1400)
อนันท์ธนา เมธานนท์

วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง 1

วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง 1

หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2549
ISBN: 974-94148-1-0

The Anthropology of Thailand and the Study of Social Conflict
Charles F. Keyes

บทแปลสรุป มานุษยวิทยาว่าด้วยเรื่องเมืองไทยและการศึกษาความขัดแย้งในสังคมไทย
ศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์
แปลและสรุปโดย ดร.รัตนา บุญมัธยะ

ร่างกายอันแปลกแแยก ชาติอันรุนแรง และการเคลื่อนไหวข้ามชาติของผู้หญิงไทใหญ่
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี

เหยื่อหรือผู้กระทำการ: หญิงบริการชาวลาวในบริบทของอุตสาหกรรมทางเพศในไทย
เนตรดาว บัวแดง

การอดข้าวของชุมชนกะเหรี่ยง: ประท้วง หนีหนี้ หรือบ้าลัทธิ?
ขวัญชีวัน บัวแดง

ปิดตนสร้างฐานะ: อคติทางชาติพันธุ์กับการไม่กล้าแสดงตนของคนบนที่สูง
ประสิทธิ์ ลีปรีชา และยรรยง ตระการธำรง

Manga/Anime Book List

ภาษาอังกฤษ

Year
Cover
Name
Author/ Editor
1986 minimangamanga Manga! Manga! The World of Japanese Comics Frederik L. Schodt
1995 miniasianpop Asian Popular Culture John A. Lent
1996 miniDreamlandJapan Dreamland Japan: Writings on Modern Manga Frederik L. Schodt
1999 minitheme Themes and Issues in Asain Cartooning: Cute, Cheap, Mad and Sexy John A. Lent
2000 miniPermitted Permitted and Prohibited Desires: Mothers, Comics, and Censorship in Japan Anne Allison
2000 miniadultmanga Adult Manga: Cuture & Power in Contemporary Japanese Society Aaron Kinsella
2001 Comics & Ideology Matthew P. McAllister, Edward H. Sewell, Jr., and Ian Gordon
2003 minianimeexplosion Anime Explosion!: The What? Why? & Wow! of Japanese Animation Patrick Drazen
2004 Manga: Sixty Years of Japanese Comics Paul Gravett
2005 miniakira Anime from Akira to Howl’s Moving Castle: Experiencing Contemporary Japanese Animation (Updated Edition) Susan J. Napier

ภาษาไทย

ปี

ปก

ชื่อ

ผู้แต่ง/ บรรณาธิการ

2545 miniการ์ตูนเพื่อนรัก การ์ตูนเพื่อนรัก ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ , น.พ.
2546 miniตามหาCartoon ตามหา CARTOON ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ , น.พ.
2549   อะนิเมะคลาสสิก ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ , น.พ.
2549 miniการ์ตูนพันธุ์ใหม่ การสื่อสารความหมายใน "การ์ตูนไทยพันธุ์ใหม่" วรัชญ์ วานิชวัฒนากุล
2550   มังงะคลาสสิก ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ , น.พ.

 

ปล. จำได้ว่ามีรายการหนังสือเท่านี้ ที่เหลือคงอยู่บ้านใครสักคน

วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2553

คนใน: ประสบการณ์ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย

คนใน

กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2545
ISBN: 974-90268-6-1

คำนำ
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล

กรอบทฤษฏีกับงานสนาม: ส่องกระจกดูตัวเอง
ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน์

ประสบการณ์ความเป็นมนุษย์ในงานสนามทางมานุษยวิทยา
ศรีศักร วัลลิโภดม

มองข้ามวัฒนธรรมสู่การเรียนรู้ที่ชายขอบสังคมไทย
อานันท์ กาญจนพันธุ์

มานุษยวิทยาไทยกับงานวิจัยภาคสนาม
ยศ สันตสมบัติ

"สนาม" ในความทรงจำของนักเรียนมานุษยวิทยา
พัฒนา กิติอาษา

"ตัวเรา" ปะทะ "ตัวเขา"
นิติ ภวัครพันธุ์

อัตลักษณ์ซ้อนของนักมานุษยวิทยาในบ้านเกิด
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล

มานุษยวิทยากับการศึกษาปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสังคมไทยร่วมสมัย

 โหยหาอดีต

หนังสือรวมบทควมจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 1 เรื่อง คนมองคน: นานาชีวิตในกระแสการเปลี่ยนแปลง
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2546
ISBN: 974-91111-2-5

มานุษยวิทยากับการศึกษาปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสังคมไทยร่วมสมัย
พัฒนา กิติอาษา

การรื้อฟื้นเมืองน่าอยู่: การโหยหาอดีตและการสร้างพื้นที่ทางสังคมของคนชั้นกลาง
อัฐมา โภคาพานิชวงษ์

กระบวนการรื้อฟื้นมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการดำเนินชีวิตของชุมชนมอญ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
สิริพร สมบูรณ์บูรณะ

วาทกรรมความรู้ในการฟื้นฟูวัฒนธรรมท้องถิ่น
เยาวนุช เวศร์ภาดา

เซ็นเตอร์พ้อยท์กับ "Preteen": การก่อตัวของวัฒนธรรมวัยแรกรุ่น
กุลภา วจนสาระ

ร้านกาแฟ: ความหมายในวัฒนธรรมไทยยุคบริโภคนิยม
ศรินธร รัตน์เจริญขจร

ชีวิตชายขอบ: ตัวตนกับความหมาย

ชีวิตชายขอบ

กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2544?
ISBN: 974-272-469-5

คำนำ
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล

ข้อพิจารณาเรื่อง ความเป็นชายขอบ กับการศึกษาทางวัฒนธรรม
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ

เกย์: ในฉากชีวิตแห่งสีลมสถาน
พิเชฐ สายพันธ์

หญิงรักหญิง: ผู้หญิงของความเป็น "อื่น"
สุไลพร ชลวิไล

ความชรา ภาพร่าง และการใช้ชีวิตในเมือง
สมรักษ์ ชัยสิงห์การนานนท์

ขยะเก็บชีวิต: ชีวิตขายขยะ ประสบการณ์เมืองคนเก็บและรับซื้อของเก่าซาเล้ง
สิริพร สมบูรณ์บูรณะ

วัยรุ่นและความเป็นคนชายขอบ ท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมโลก
วิริยะ สว่างโชติ

บางส่วนของชีวิตเด็กข้างถนน
วันดี กริชอนันต์

ส่วนตัว:

หนังสือเล่มนี้ยึดมาจากเพื่อนฝูงตอนทำวิจัยเรื่องแฟนเพลงญี่ปุ่นตอนสมัยป.ตรี จนกระทั่งตอนนี้ก็ยังไม่ได้คืนเลยแฮะ

เหลียวหน้าแลหลังวัฒนธรรมป๊อป

 เหลียวหน้าแลหลังวัฒนธรรมป๊อป

กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2550

ISBN: 974-94098-3-3

บทนำ เหลียวหน้าแลหลังวัฒนธรรมป๊อป แนวคิดและประเด็น
ฐิรวุฒิ เสนาคำ

"ความต่าง" ของ "วิธีคิด" ต่อวัฒนธรรมกระแสนิยม
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ

อดอร์โนกับอุตสาหกรรมวัฒนธรรม: กรณีศึกษาเพลงสมัยนิยม (Popular Music)
นันทวัฒน์ ฉัตรอุทัย

ห้องแสดงศิลปะใน "วัฒนธรรมประชานิยม"
ชาญวิทย์ ติรประเสริฐ

การสื่อสารความหมายใน "การ์ตูนไทยพันธุ์ใหม่"
วรัชญ์ วานิชวัฒนากุล

แฟนเพลงญี่ปุ่น ลีลาชีวิตใหม่วัยรุ่นไทย
วิภารัตน์ พันธ์ฤทธิ์ดำ

ส่วนตัว:
งานของวรัชญ์ คือ งานเดียวกับที่ออกรวมเล่มกับมติชน http://toshokanreview.blogspot.com/2008/07/blog-post.html

งานของวิภารัตน์ เขียนได้กระชับกว่าวิทยานิพนธ์ที่พอซีร็อคออกมาต้องแบ่งเป็นสองเล่ม แต่เน้นแฟนเพลงของ W-inds เป็นหลัก

คนพันธุ์ป๊อป: ตัวตนคนไทยในกระแสวัฒนธรรมสมัยนิยม

 คนพันธุ์ป๊อป

หนังสือรวมบทควมจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 1 เรื่อง คนมองคน นานาชีวิตในกระแสการเปลี่ยนแปลง
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2546
ISBN: 974-91110-6-0

หมายเหตุ: หนังสือที่ได้รับคำแนะนำจากอาจารย์อมรา พงศาพิชญ์ให้อ่านเพื่อทำความเข้าใจก่อนทำวิทยานิพนธ์ และเรียกได้ว่าหนังสือเล่มนี้ทำให้เข้าใจแนวคิดของงานตัวเองมากขึ้น

เบื้องหลังหน้ากาก

 เบื้องหลังหน้ากาก

กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2549
ISBN: 974-9681-40-1

หมายเหตุ: งานวิจัยภาคสนามที่อินเดีย

สู่พรมแดนความรู้เรื่องวัฒนธรรมบริโภค

 สู่พรมแดนความรู้เรื่องวัฒนธรรมบริโภค

หนังสือรวมบทควมจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 5 เรื่อง วัฒนธรรมบริโภค บริโภควัฒนธรรม
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2550
ISBN: 978-974-7266-61-0

สู่พรมแดนความรู้... เรื่องวัฒนธรรมบริโภค: ความเป็นปกติวิสัยของการบริโภควัฒนธรรมในชีวิตประจำวัน
เกษม เพ็ญภินันท์

การดำรงชีพและแบบแผนการบริโภคของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ธนิก เลิศชาญฤทธ์

เสพศิลป์และกลืนกินความร่วมสมัย?
สายัณห์ แดงกลม

วัฒนธรรมการบริโภคในพื้นที่เมือง: บทวิเคราะห์วรรณกรรมไทยร่วมสมัย
สุรเดช โชติอุดมพันธ์

มือถือ: ปัจจัยที่ห้าของแรงงานพม่าในเมืองชายแดน
นิติ ภวัครพันธุ์

โบราณคดี: แนวคิดและทฤษฏี

 โบราณคดี

กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2547
ISBN: 974-92590-0-9

 

ชาติพันธุ์กับการแพทย์

 ชาติพันธุ์กับการแพทย์

หนังสือรวมบทควมจากการประชุมประจำปีมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติ และ ชาติพันธุ์: วิถีชีวิตและความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2547
ISBN: 974-92044-5-X

เชื้อชาติ-ชาติพันธุ์-พันธุกรรม: ความรู้และอำนาจทางการแพทย์กับการสร้างความเป็นอื่น
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และมาลี สิทธิเกรียงไกร

ชาติพันธุ์ รัฐเวชกรรม และการแพทย์สัญชาติไทยในชุมชนม้ง
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และราตรี ปิ่นแก้ว

มุสลิม ราชการ และการแพทย์: พลวัตรของอำนาจ ชาติพันธุ์ และพหุลักษณ์ทางการแพทย์ในชุมชนอิสลาม
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ วรัญญา เพ็ชรคง และชาติชาย มุกสง

ความเห็นเพิ่มเติม
ดร. ชยันต์ วรรธนะภูติ

การ์ตูนเพื่อนรัก

 การ์ตูนเพื่อนรัก

  ผู้แต่ง : ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ , น.พ.
  จัดพิมพ์โดย : สนพ.มติชน
  พิมพ์ครั้งแรก : มิถุนายน ๒๕๔๕ 
  จำนวนหน้า : 264 หน้า
  ขนาดหนังสือ : 14.6 cm. x 25 cm.
  ISBN : 974-322-635-4

รายละเอียด
การ์ตูนเพื่อนรัก เป็นวีถีทางง่ายๆทางหนึ่งที่จะให้พ่อแม่ผู้ปกครองชิดใกล้และเข้าใจความคิดของเด็กๆ ได้มากขึ้นด้วยการเข้าใจพวกเขาด้วยการอ่านสิ่งที่เด็กๆอ่าน เด็กอ่านได้ ผู้ใหญ่อ่านก็ยิ่งดี แล้วคุณจะเข้าใจกันมากขึ้น

http://www.matichonbook.com/index.php?mnuid=5&selmnu=470426103652

ส่วนตัว:

ตามหาซื้อเก่าสุดได้เพียงเล่มนี้ เสียดายเหมือนกันแฮะ แต่อยากได้เล่มนี้ก็ได้ลายเซ็นของหมอประเสริฐมาตอนไปฟังเสวนา แม้ว่าตอนที่ไปขอลายเซ็นจะเป็นงานเรื่องสเต็มเซลล์มั้ง ก๊าก

วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553

Manga: Sixty Years of Japanese Comics

 manga60years

  • Paperback: 176 pages
  • Publisher: Collins Design (August 3, 2004)
  • Language: English
  • ISBN-10: 1856693910
  • ISBN-13: 978-1856693912
  • Product Dimensions: 10.9 x 9.4 x 0.7 inches
  • Shipping Weight: 2.1 pounds

ส่วนตัว:

หนังสือมีขนาดใหญ่มาก พิมพ์สวยดี เรียกได้ว่าคุ้ม (แน่นอนว่าอย่าไปคิดเรื่องน้ำหนัก)

ภายในแบ่งประเภท มีชาร์ตต่างๆ ตลอดจนตัวอย่างการ์ตูนที่ครบครัน ที่งานทั่วไปไม่ค่อยพูดถึงกันด้วย เช่น การ์ตูนกีฬา การ์ตูนผี

Anime from Akira to Howl’s Moving Castle: Experiencing Contemporary Japanese Animation (Updated Edition)

akira

  • Paperback: 384 pages
  • Publisher: Palgrave Macmillan; Revised and Updated edition (November 24, 2005)
  • Language: English
  • ISBN-10: 1403970521
  • ISBN-13: 978-1403970527
  • Product Dimensions: 8 x 5.4 x 1.1 inches
  • Shipping Weight: 1 pounds

ส่วนตัว:

หนังสือเวอร์ชั่นอัพเดทที่ถูกกว่าเวอร์ชั่นเดิม ไงไม่รู้แฮะ งง เล่มนี้ก็ได้มาจากคิโนะฯ พารากอน เช่นกัน

งานในเล่มนี้เน้นไปที่จิบิมากกว่าส่วนอื่นๆ ทั้งที่มีน่าจะพูดถึงสายอื่นได้มากกว่านี้

Anime Explosion!: The What? Why? & Wow! of Japanese Animation

 animeexplosion

  • Paperback: 320 pages
  • Publisher: Stone Bridge Press; illustrated edition edition (October 1, 2002)
  • Language: English
  • ISBN-10: 1880656728
  • ISBN-13: 978-1880656723
  • Product Dimensions: 8.9 x 5.9 x 1 inches
  • Shipping Weight: 8.8 ounces

ส่วนตัว:

หนังสือเล่มนี้ได้มาจากคิโนะฯ พารากอน แม้ว่าจะไม่ได้เป็นงานวิชาการมาก แต่ก็มีการแบ่งประเด็นออกมาชัดเจน ง่ายดี ทั้งประเด็นโฮโมฯ ฮาร์ดคอร์ แต่ตัวอย่างจะเก่าไปหน่อย เน้นงานจิบิและโอซามุ

Comics & Ideology

 ComicsIdeology

  • Paperback: 303 pages
  • Publisher: Peter Lang Publishing (May 1, 2001)
  • Language: English
  • ISBN-10: 0820452491
  • ISBN-13: 978-0820452494
  • Product Dimensions: 8.9 x 6 x 0.7 inches

Contents:

1. Introduction Comics and Ideology Matthew P. McAllister, Edward H. Sewell, Jr. and Ian Gordon

2. Ownership Concentration in the U.S. Comic Book Idustry Matthew P. McAllister

3. The Women’s Suffragist Movement Through the Eyes of Life Magazine Cartoons J. Robyn Goodman

4. Humor and Gender Politics: A Textual Analysis of the First Feminist Comic in Hong Kong Wendy Siuyi Wong and Lisa M. Cuklanz

5. “The Dominat Trope”: Sex, Violence, and Hierarchy in Japanese Comics for Men Anne Cooper-Chen

6. The Tyranny of the Melting Pot Metaphor: Wonder Woman as the Americanized Immigrant Matthew J. Smith

7. From Realism to Superheroes in Marvel’s The’ Nam Annette Matton

8. Nostalgia, Myth and Ideology: Visions of Superman at the End of the “American Century” Ian Gordon

9. Kevlar Armor, Heat-Seeking Bullets, and Social Order: A Mythological Reading of Judge Dredd Matthew T. Althouse

10. Coming Out in Comic Books: Letter Columns, Readers, and Gay and Lesbian Characters Morris E. Franklin III

11. Queer Characters in Comic Strips Edward H. Sewell, Jr

12. Power to the Cubicle-Dwellers: An Ideological Reading of Dibert Julie Davis

ส่วนตัว:

ยังไม่มีไว้ในครอบครองเช่นกัน ด้วยราคา 31.95$ ตอนนี้นอนกอดฉบับซีร็อคของศิลปากรอยู่

หนังสือรวมบทความที่ศึกษาการ์ตูนได้หลากหลาย แม้ว่าชื่ออาจจะทำให้คิดว่าวิชาการมากก็ตาม แต่ก็อ่านง่ายกว่าที่คิด จุดเด่นอยู่ที่การศึกษาการ์ตูนเกย์ในอเมริกาและการ์ตูนเฟมินิสต์ในฮ่องกง

Adult Manga: Cuture & Power in Contemporary Japanese Society

adultmanga

  • Paperback: 228 pages
  • Publisher: Curzon Press, 2000
  • Language: English
  • ISBN-10: 07007-1004-3  
  • Product Dimensions: 8.5 x 5.5 x 0.7 inches
  • Shipping Weight: 11.8 ounces

Contents:

Introduction

1. A Short History of Manga

2. The Manga Production Cycle

3. Adult Manga and the Regenration of National Culture

4. Amateur Manga Subculture and the Otaku panic

5. The Movement Against Manga

6. Creative Editors and Unusable Artists

7. Conclusion: The Source of Intellectual Power in a Late Twentieth-Century Society

ส่วนตัว:

ยังไม่มีตัวเล่มในครอบครอง เปลี่ยนสำนักพิมพ์จากRoutledge ที่ราคา 54.95$ มาเป็น Hawaii University Press ที่ราคา 20$ ตอนนี้นอนกอดฉบับซีร็อคของมธ. ไปก่อน

จุดเด่นคือผู้วิจัยได้เข้าไปในอุตสาหกรรมผลิตการ์ตูนจริงๆ และเน้นเรื่องการต่อต้านการ์ตูนในหลายๆ มุมมอง

Permitted and Prohibited Desires: Mothers, Comics, and Censorship in Japan

 Permitted

  • Paperback: 251 pages
  • Publisher: University of California Press; 1 edition (January 14, 2000)
  • Language: English
  • ISBN-10: 0520219902
  • ISBN-13: 978-0520219908
  • Product Dimensions: 8.9 x 6 x 0.7 inches
  • Shipping Weight: 12 ounces

ส่วนตัว:

หนังสือที่สงสัยมานานว่าทำไมถึงถูกอ้างอิงบ่อยครั้งในการศึกษาเรื่องYAOI เพิ่งได้มาไม่นานนี้เช่นกัน แต่เปิดผ่านๆ แล้วก็ เอ่อ เต็มไปด้วยชื่อคุ้นๆ ทั้งนั้นเลยนี่หว่า ทั้ง Lacan, Foucault, Zizek, etc. - -"

จุดเด่นคือภาษาและเนื้อหาเฟมินิสต์โคตรๆ ขนาดบทความของกลุ่มสตรีนิยมญี่ปุ่นที่ศึกษาเรื่องนี้ ยังอ่านแล้วรู้สึกธรรมดากว่าแฮะ

Themes and Issues in Asain Cartooning: Cute, Cheap, Mad and Sexy

 theme

Paperback: 212 pages
Publisher: Popular Press 1; illustrated edition edition (December 31, 1999)
Language: English
ISBN-10: 0879727802
ISBN-13: 978-0879727802
Product Dimensions: 8.9 x 5.8 x 0.6 inches
Shipping Weight: 14.1 ounces

ส่วนตัว:

เล่มนี้ได้มาด้วยความยากลำบาก เพราะที่Amazon US แพงกว่า จนต้องสั่งมาจาก UK ที่รวมค่าส่งแล้วดันถูกกว่า ไรเนี่ย?

จุดเด่นคือการศึกษาการ์ตูนผู้หญิงตั้งแต่การ์ตูนตาโต YAOI จนถึง Ladies' Comics

Dreamland Japan: Writings on Modern Manga

 DreamlandJapan

  • Paperback: 360 pages
  • Publisher: Stone Bridge Press (September 1, 1996)
  • Language: English
  • ISBN-10: 188065623X
  • ISBN-13: 978-1880656235
  • Product Dimensions: 8.9 x 6 x 0.8 inches
  • Shipping Weight: 1.4 pounds

ส่วนตัว:

เล่มนี้เป็นเล่มแรกที่ซื้อหลังจากที่ตัดสินใจว่าจะทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการ์ตูนญี่ปุ่น เจอโดยบังเอิญที่คิโนะฯ พารากอน หยิบมาโดยไม่ยั้งคิดเช่นเคยและหลงคิดว่า เย้ ไม่ต้องซื้อเล่มก่อนหน้านี้แล้ว แถมใหม่กว่าด้วย พออ่านไปปุ๊บก็พบว่า ยังไงก็ต้องซื้ออยู่ดี เพราะไม่ใช่เล่มต่อ หรือปรับปรุงใหม่ - -"

จุดเด่นคือเต็มไปด้วยสัมภาษณ์ของนักเขียนและบรรณาธิการต่างๆ มากมาย ทำให้เราได้รู้ว่าชีวิตส่วนตัวและความคิดเห็นต่างๆ อ่านง่ายและสนุก

Asian Popular Culture

 asianpop

Paperback: 240 pages
Publisher: Westview Pr (Short Disc) (April 1996)
Language: English
ISBN-10: 0813320496
ISBN-13: 978-0813320496
Product Dimensions: 9.2 x 6.2 x 0.8 inches
Shipping Weight: 12.8 ounces

Contents

1. Introduction John A. Lent

2. “Hey, We Equatoial People”: Popular Music and Contemporary Society in Malaysia Craig A. Lockard

3. Music Culture in Singapore: Record Companies, Retailers, and Performers Alan Well and Lee Chun Wah

4. Thai Cassettes and Their Covers: Two Case Histories Deborah Wong

5. Blood, Brothers, and Hong Kong Gangster Movies: Pop Culture Commentary on “One China” Barbara Ryan

* Southeast Asia Pop Art: The Movie Billboard John A. Lent

6. Mr. Atomic, Mr. Mercury, and Crime Trooper: Japan’s Answer to the American Dream Ron Tanner

7. Coffee Shop Culture: Days in Life of Manila’s Gossip Mill Antonio Lopez

8. Cartooning in Sri Lanka: A Precarious Tightrope Act Leonard Rifas

9. Sexiam in Japan Weekly Comic Magazines for Men Kinko Ito

10. Sanmao: Classic Cartoons and Chinese Popular Culture Mary Ann Farquhar

11. Inmortal Picture-Stories: Comic Art in Early Indian Art Aruna Rao

* The Moving Art Galleries of South and Southeast Asia John A. Lent

12. Modern Malay Folklore: The Humor Magazines Ronald Provencher

13. Crossing Ethnoliguistic Boundaries: A Preliminary Look in Gaijin Tarento in Japan Laura Miller

14. Pachinko, Japan’s National Pastime Elizabeth Kiritani

 

ส่วนตัว:

อยากได้บทความในหนังสือเล่มนี้จนต้องไปตามทีห้องสมุดมศว จนกระทั่งมาได้ตัวเล่มที่ร้านdasa

Manga! Manga! The World of Japanese Comics

 mangamanga

Paperback: 260 pages
Publisher: Kodansha International; Reprint edition (May 15, 1986)
Language: English
ISBN-10: 0870117521
ISBN-13: 978-0870117527
Product Dimensions: 10 x 7.2 x 0.7 inches
Shipping Weight: 1.4 pounds

Content:

Foreword by Osamu Tezuka
A Thousand Million Manga
Themes and readers / Reading, and the structure of Narrative Comics / Why Japan?

A Thousand Years of Manga
The Comic Art Tradition / Western styles / Safe and Unsafe Art / Comics and the War Machine / The Phoenix Becomes a Godzilla

The Spirit of Japan
Paladins of the Past / Modern-Day Warriors / Samurai Sports

Flowers and Dreams
Picture Poems / Women Artists Take Over / Sophisticated Ladies

The Economic Animal at Work and at Play
Pride and Craftsmanship / Mr. Lifetime Salary-Man / Mah Jongg Wizards

Regulation versus Fantasy
Is There Nothing Sacred? / Social and Legal Restraints / Erotic Comics

The Comic Industry
Artists / Publishers / Profits

The Future
The New Visual Generation / Challenges for the Industry / First Japan, Then the World?

* * *
[TRANSLATED STORY SAMPLES:]
Osamu Tezuka's PHOENIX (Hi no Tori)
Reiji Matsumoto's GHOST WARRIOR (Bourei Senshi, from the Senjou series)

Riyoko Ikeda's THE ROSE OF VERSAILLES (Berusaiyu no Bara)

Keiji Nakazawa's BAREFOOT GEN (Hadashi no Gen)

* * *
INDEX
More on Japanese Comics
Last Words

ส่วนตัว:

หนังสือที่ต้องฝากซื้อแบบมือสองจากอเมริกา เพราะไม่มีมือหนึ่ง

หนังสือยอดนิยมในการศึกษาการ์ตูนญี่ปุ่นโดยชาวต่างชาติ ท้ายเล่มมีการ์ตูนแปลสี่เรื่อง และคำนำโดย โอซามุ

วันเสาร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2553

Augmentation Phalloplasty การผ่าตัดเพิ่มขนาดอวัยวะเพศชาย

พอดีไปอ่านเจอบลอค http://anew.exteen.com/ แล้วก็เลยนึกถึงตอนที่ตัวเองไปนั่งฟังบรรยายเรื่องนี้ ก็เลยเอามาเล่าสู่กัน โดยปรับภาษาจากรายงานที่ตอนนั้นลงในบอร์ดตัวเอง

บรรยายวิชาการ เรื่อง Augmentation Phalloplasty โดย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ศิรชัย จินดารักษ์ Plastic and Reconstructive unit Department of Surgery Chulalongkorn University วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 ในงาน เปิดโลกบัณฑิตศึกษา 2547 ณ ศาลาพระเกี้ยว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทำไมถึงต้องเพิ่มขนาดอวัยวะเพศ ในต่างประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น ซึ่งมีวัฒนธรรมการอาบน้ำรวมกัน อาจเกิดการเปรียบเทียบขนาดของอวัยวะเพศ ขนาดที่เล็กกว่าก็อาจจะเป็นปมด้อย หรือเกิดความอายขนาดของตน การเสริมขนาดจึงอาจจะเป็นเรื่องที่พวกเขาให้ความสนใจ แต่ในบ้านเราซึ่งไม่มีวัฒนธรรมการอาบน้ำรวม แต่ต้องการมีขนาดของอวัยวะเพศใหญ่ เกิดจากความเชื่อที่ว่าขนาดที่ใหญ่ สามารถสร้างความสุข และทำให้คู่นอนรู้สึกดีและพึงพอใจมากขึ้น ซึ่งเป็นความเข้าใจผิดของฝ่ายชาย แต่ความจริงแล้ว โดยหลักการแล้วการเสริมขนาดให้ใหญ่ขึ้นจะทำให้มีความรู้สึกทางเพศลดน้อยลง เพราะความรู้สึกสัมผัสบริเวณผิวหนังที่องคชาตจะลดน้อยลง

ปัจจุบันและอนาคต แนวโน้มจะเป็นอย่างไร การเสริมขนาดอวัยวะเพศชายมีการทำกันมาตั้งแต่ในอดีต และคาดว่าอนาคตการเสริมขนาดอวัยวะเพศชายของคนไทยน่าจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยในอดีต การเสริมขนาดอวัยวะเพศ มักจะใช้สิ่งแปลกปลอมผ่าตัดเข้าไปในบริเวณใต้ผิวหนัง เช่น การฝังมุก แต่ในปัจจุบัน การเสริมขนาดอวัยวะเพศ จะใช้การฉีดสิ่งแปลกปลอมเข้าไป ซึ่งสิ่งแปลกปลอมที่ใช้ส่วนใหญ่มักจะฉีดพาราฟิน หรือซิลิโคนเหลว แต่เนื่องจากพาราฟินและซิลิโคนมีลักษณะเหนียวและข้น ทำให้ยากต่อการฉีด และยังหายากอีกด้วย คนไทยนิยมฉีดน้ำมันมะกอก เพราะหาซื้อได้ง่าย เหลว ทำให้ฉีดได้ง่าย เพียงมีเข็มฉีดยาก็สามารถฉีดได้ทันที

วิธีการผ่าตัดเพิ่มขนาดมีวิธี ดังนี้
1.การใช้เนื้อเยื่อของตัวเราเอง ได้แก่ ไขมันจากหน้าท้อง ต้นขา จากก้น หรือที่อื่นๆ ที่มีไขมันสะสมอยู่ฉีดเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนังของอวัยวะเพศชาย ก็จะทำให้ขนาดของอวัยวะเพศชายมีขนาดใหญ่ขึ้น แต่อย่างไรก็ตามไขมันที่ฉีดเข้าไปมักจะไม่อยู่ถาวร หมายความว่าเมื่อผ่านไปแล้ว 3เดือน ไขมันมักจะละลายหายไป ส่วนการตัดเนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียง เช่น บริเวณหน้าท้อง ตัดเป็นชิ้นๆ ซึ่งยังมีเส้นเลือด สอดเข้าไปบริเวณหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย วิธีนี้ทำได้แต่บริเวณที่ผ่าตัดจะมีร่องรอยแผลเป็น แต่ตรงบริเวณที่ดูดไขมันก็จะไม่มีร่องรอยอะไร แต่ข้อสำคัญคือ เนื้อเยื่อที่นำมาใส่มักจะหนาเกินไป และทำให้ความรู้สึกทางเพศลดลง
2.การใช้สิ่งแปลกปลอม คล้าย ๆ กับการเสริมจมูก โดยแผ่นซิลิโคน แต่มีข้อแม้อยู่ว่า มันไม่สามารถยืดได้หดได้ ขนาดจะใหญ่ขึ้นจริง แต่ไม่สามารถยืดหยุ่นได้ อย่างที่สองก็คือ ในระยะยาวแล้ว อาจมีการแตกออกมา

ผลกระทบจากการใช้วิธีเพิ่มขนาดที่ไม่ถูกต้อง โดยส่วนใหญ่การฉีดในระยะแรกจะให้ผลที่น่าพึงพอใจ เพราะร่างกายยังไม่เกิดปฏิกิริยาต่อต้าน แต่พอผ่านไป 3-6 เดือน (ขึ้นอยู่กับขนาดของยา) ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยา เช่น ผิวหนังแตกเป็นแผล ใหญ่แบบไม่มีรูปร่าง เนื่องจากสารที่ฉีดเข้าไปมีลักษณะเป็นของเหลว จึงมีการไหลตามแรงโน้มถ่วงโลก ทำให้รูปร่างของอวัยวะเพศแปลกออกไป หรือใหญ่เกินไปจนไม่สามารถสอดใส่ได้ หรือบางครั้งการฉีดยาเข้าไปทำให้เกิดพังผืด คล้ายกับการใส่เหล็กเข้าไปในอวัยวะเพศ เมื่ออวัยวะเพศแข็งตัวจะเกิดความเจ็บปวด อวัยวะเพศยืดไม่ออก

สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์
1. มีการติดเชื้อบริเวณที่อวัยวะเพศ และเป็นแผลเรื้อรัง
2. มีการเคลื่อนตัวของสารที่ฉีดไปยังอวัยวะข้างเคียง ทำให้ติดเชื้อได้ นาน ๆ ไปจะทำให้บริเวณนี้แข็งเป็นพังผืด ทำให้เจ็บปวดได้
3. ขนาดของอวัยวะเพศใหญ่จนไม่สามารถร่วมเพศได้ เวลาอวัยวะเพศแข็งตัวจะปวดมาก
4. กลัวเป็นโรคมะเร็ง เนื่องจากมีแผลเรื้อรังเป็น ๆ หาย ๆ

แนวทางการช่วยเหลือ
1. การให้การปรึกษา และการให้ความรู้เรื่องเพศ คือ ต้องให้การศึกษาในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ ว่าเทคนิคสำคัญกว่าขนาด ต้องทำให้ประชาชนเข้าใจเรื่องนี้อย่างแท้จริง จึงจะไม่เกิดปัญหา แต่ในบางคนที่มีขนาดอวัยวะเพศเล็กจริง ๆ จึงทำการรักษาทางการแพทย์
2. การผ่าตัดแก้ไขอาการต่าง ๆ ตามลักษณะที่พบ โดยใช้การลอกผิวหนังที่เสียหายออกและดึงเนื้อเยื่อบริเวณอื่นมาทดแทน วิธีการนี้แพทย์ชาวจีนเป็นผู้คิดค้นแต่ต้องทำการผ่าตัด2ครั้ง ในประเทศไทยจะใช้การผ่าตัดเพียงครั้งเดียว คล้ายกับวิธีการของประเทศเกาหลี แต่ไม่สามารถแก้ไขได้ในกรณีที่หนังหุ้มอัณฑะมีลักษณะติดเชื้อจนไม่สามารถนำมาใช้ทดแทนได้

Toy boy or host clubs

Toy boy or host clubs

Toy boy clubs represent the flip side of the coin, where, instead of geishas and women entertainers, we find women seeking entertainment in host clubs which cater to women only.

The increasing number of women enjoying financial independence and access to big expense accounts has led to the growth of this modern-day entertainment phenomenon. Toy boy clubs are posh, luxurious establishments whose high-priced entertainment rivals that of the geisha houses.

These are mainly located in the cities entertainment districts. InTokyo they can be found in Akasaka and the red light Kabuki-cho district in Shinjuku. Toy boys are well-groomed, smart-looking male escorts. A glib tongue and ability to dance is all required.

The women who patronize host clubs are usually lonely wives or jaded women of the night. Wives whose husbands are often away on business trips or socializing with colleagues and clients also find solace in Toy boy clubs. Hostesses and professional escorts also patronize these host clubs for their novelty. It must certainly be therapeutic and relaxing to take a rest and be entertained for a change.

From: Elizabeth Kanematsu. 1993. WOMEN IN SOCIETY JAPAN. Times Editions Pte Ltd. p.37

Queer Eye for the Japanese Guy? Commodified Male Sexuality in a Tokyo Host Club

Queer Eye for the Japanese Guy? Commodified Male Sexuality in a TokyoHost Club

Akiko Takeyama

บทคัดย่อในงานการประชุมวิชาการConsuming Sexในการประชุมนานาชาติ เพศวิถี เพศภาวะ และสิทธิในเอเชีย: การประชุมนานาชาติครั้งแรกว่าด้วยเรื่องเควียร์ศึกษา (Sexualities, Genders, and Rights in Asia, 1st International Conference of Asian Queer Studies) จัดโดยโครงการจัดตั้งสำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือข่ายเควียร์แห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ระหว่างวันที่ 7-9 กรกฎาคม2548 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร

The new American TV show, Queer Eye for the Straight Guy, has highlighted the aestheticization of heterosexual men by queer men. The so-called metrosexual phenomenon points to straight men who spend an inordinate amount of time and money on beautifying their appearance and who are willing to embrace their feminine side. However, this is nothing new in Japan. Straight men have been beautifying themselves and embracing, even flaunting, their feminine side since the late 1980s. This phenomenon is particularly evident in Tokyos host clubs where young Japanese men host female customers. These clubs are lavish, female-friendly spaces where male hosts invest heavily in their appearance, using slim bodies, trendy hairstyles and expensive designer suits to attract female customers. It is also a phenomenon that occurs entirely independently of gay influence. This paper demonstrates how the rapidly expanding market for mens fashion and aesthetics, as well as the growth of urban consumer space such as host clubs, have allowed for a freer expression of mens beauty and an increase in social tolerance for mens feminine side. By exploring male beautification practices in the context of Japanese host clubs, it also examines the parameters of apparently transgressive gender formations. Just as critics of the meterosexual trend in the US have argued that the gay men in Queer Eye are nothing more than handmaidens for heteronormativity, I will argue that Japanese hosts, practices ultimately reinscribe even as the they disrupt prevailing heteronormative notions of beauty and romance.

YAOI Fans As Queer Women in Japan

YAOI Fans As Queer Women in Japan

Akiko Mizoguchi

บทคัดย่อในงานการประชุมวิชาการQueering of Our Own: Queer Practices of Japanese Women ในการประชุมนานาชาติ เพศวิถี เพศภาวะ และสิทธิในเอเชีย: การประชุมนานาชาติครั้งแรกว่าด้วยเรื่องเควียร์ศึกษา (Sexualities, Genders, and Rights inAsia, 1st International Conference of Asian Queer Studies) จัดโดยโครงการจัดตั้งสำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือข่ายเควียร์แห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ระหว่างวันที่ 7-9 กรกฎาคม 2548 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร

Starting in the early 1960s, YAOI fictions, male homosexual comics and illustrated novels created by women for women in Japan, cater to at least half a million women today. Through many stronger works of the 1960s and 1970s have proven to be crossover hits with readers of both genders, more recent YAOI comics and illustrated novels which feature explicit depiction of male homosexual acts have excluded straight male. Today over 95% readers and 100% writers and artists are women for YAOI genre as a whole, and as such, YAOI provides a female gendered and fully sexualized discursive space. What female YAOI fans communicated in this space through the representations of male homosexual romance narratives are their sexual desires and fantasies. Regardless of their sexual identities such as straight, lesbian, bisexual and others, these women operate in the YAOI space together. For example, a married woman who reads YAOI fictions and shares her fantasies with other YAOI fans on a daily basis, and claims that such acts feel more sexual than her actual sex acts is not at all rare. Instead of calling these women straight women who like YAOI fictions, or women who belong to lesbian continuum with lesbian fans of YAOI fictions, this paper proposes to call them queer. By examining womens words from magazines, face-to-face interviews and email correspondences, this paper explores this queerness that exceeds conventional categories of sexual orientations in the hope of expanding the discussions of womens queer sexualities in contemporary Japan.

Reaching Out from the Margins

Reaching Out from the Margins:

Queer Community Formation in an Aesthete Magazine for Teenage Girls

James Welker

บทคัดย่อในงานการประชุมวิชาการLocal Japanese Responses to Queer Activism ในการประชุมนานาชาติ เพศวิถี เพศภาวะ และสิทธิในเอเชีย: การประชุมนานาชาติครั้งแรกว่าด้วยเรื่องเควียร์ศึกษา (Sexualities, Genders, and Rights in Asia, 1st International Conference of Asian Queer Studies) จัดโดยโครงการจัดตั้งสำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือข่ายเควียร์แห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ระหว่างวันที่ 7-9 กรกฎาคม 2548 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร

The popularity of the SHONEN AI (boys love) genre of SHOUJO MANGA (girls comics) has drawn significant critical attention. While SHONEN AI has been described as offering a liberatory sphere within which readers are freed to experiment with romance and sexuality, what has little been noted is the genres appeal to young people whose sexual desire and identities transgress heteropatriarchal norms. Given the popularity of this genre, with its focus on beautiful, often androgynous boys in love with each others, it is unsurprising that the end of the 1970s saw the appearance of a few magazines aimed at teenage girls and focused on these BISHONEN (beautiful boys) and their romantic, sometimes sexual relationships with each other. Among the readership of these TANBIHA (cult of aesthetes) magazines were young women and men drawn to depictions of a range of homosexual and transgender desire and identities. The existence of these readers is evidenced by their contributions to the magazines, sometimes as editorial commentary, sometimes as confessional testimony. ARAN (Allan) specifically published a LESBIENNE personals column, which first appeared literally on the margins of the magazines, and which eventually made space for male readers. In allowing readers to make textual if not physical contact with each other, these magazines functioned as sites where queer young people were able to find or create communities of others like themselves. This paper examines reader contributions to these TANBIHA magazines and explores their role in community formation among young people resisting heteronormativity.

วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553

October5 ฉบับพระราชอำนาจ ชาติไทย และไฟใต้

Octoberพระราชอำนาจ

October5 ฉบับพระราชอำนาจ ชาติไทย และไฟใต้

สารบัญโดยสังเขป
- ยุทธศาสตร์ใหม่อินเดีย คำปราศัยต่อรัฐสภาสหรัฐอเมริกา โดย ดร.มันโมหัน ซิงค์ นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐอินเดีย

- การสนทนาสาธารณะเรื่อง "พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์" โดย ประมวล รุจนเสรี แก้วสรร อติโพธิ และสนธิ ลิ้มทองกุล

- บทวิจารณ์หนังสือ "พระราชอำนาจ" โดย อ.ดร.สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

- Same Old Royalism Hatches Again by ศ.ดร.ธงชัย วินิจกูล

- "เซ็ง" คำบรรยายในโครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง "รัฐ ความรุนแรง ทางออก และพลังการเปลี่ยนแปลง" ของ ศ.ดร.ธงชัย วินิจกูล

- คนไทย โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์

- "การปฏิรูปสังคมเศรษฐกิจไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540: ความก้าวหน้าและความล้มเหลว" โดย อ.ดร.เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

- บทสัมภาษณ์สองชิ้นพิเศษ " 'การดื้อแพ่ง' ของคนตัวเล็ก: บทเรียนที่กลุ่มทันใหญ่ไม่ควรมองข้าม"--สุภิญญา กลางณรงค์ และ "บทเรียนของภาคประชาชนจากเม็กซิโกสู่ไทย"--นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ

หมายเหตุ: พิมพ์เพิ่มจากคำโปรยของโอเพ่น

โลกหนังสือ ปีที่4 ฉบับที่5 กุมภาพันธ์ (2524)

โลกหนังสือy4v5cover

โลกหนังสือ ปีที่4 ฉบับที่5 กุมภาพันธ์ (2524) ฉบับรู้จักโลกการ์ตูนของพีนัทส์

รายละเอียดบทความเด่น (ไม่ครบตามสารบัญ)
- โลกการ์ตูนของพีนัทส์ โดย สุพจน์-พรพิไล แจ้งเร็ว

- ล้อติดโคลน: วิญญาณนักสู้ของโคนันทวิศาล โดย แม่ขวัญข้าว

- โฮเซ เอเชกาเรย์ หนึ่งในสองนักเขียนโนเบลปี 1904 โดย โพยม เรืองศรี

- ปัจฉิมลิขิตจากเรื่องหลุมฝังศพ หลู่ซิ่น เขียน พวงร้อย คำเรียง แปล

- ทัศนะบางประการต่อคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย โดย แถมสุข นุ่นนนท์

- คุยกับ ประเทือง เอมเจริญ ว่าด้วยปัญหาความเป็นศิลปิน

- ปัญหาของชนบท: ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมไทย ฟิลิป คันแฮม เขียน วิทยา วงศ์ดีไทย แปล

- ปรัชญาประวัติศาสตร์ในสงครามและสันติภาพ โดย พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล

โลกหนังสือ ปีที่6 ฉบับที่7 เมษายน (2526)

โลกหนังสือy6v7cover

โลกหนังสือ ปีที่6 ฉบับที่7 เมษายน (2526) ฉบับวัฒนธรรม “การ์ตูน”

รายละเอียดบทความเด่น (ไม่ครบตามสารบัญ)


- เพลงพื้นบ้านท่าโพ โดย มนัส พูนผล

- เสนีย์ เสาวพงศ์ เยื่ยมเมืองจีนและสิบสองปันนา โดย วีรา อิสรทัศน์

- วัฒนธรรม "การ์ตูน" ในญี่ปุ่น โดย กวี บ้านไท และสุชาติ สวัสดิ์ศรี

- สัมภาษณ์ ฟูชิโกะ ฟูชิโอะ โดย กวี บ้านไท และสุชาติ สวัสดิ์ศรี

- โดราเอมอน: เหตุใด "แมวญี่ปุ่น" จึง "ครองใจ" เด็กไทย? โดย ทัศนา สลัดยะนันท์

- ศึกทางวัฒนธรรมการ์ตูนไทยหายไปไหน? โดย ก้อนกรวด บนดินแดง

- คุยกับ เฉลิม วุฒิโฆสิต นักหนังสือพิมพ์ และนักวาดภาพประกอบ

- "การสำรวจเศรษฐกิจชนบทครั้งแรกของไทย" รายงานหายากของดร. คาร์ล ซี. ซัมเมอร์แมน เมื่อพ.ศ. 2473 โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

- Annie เมื่อการ์ตูนกลายเป็นหนัง โดย "กิตติศักดิ์"

- ว่าด้วย "การเมือง" และ "ชนชั้น" ในวรรรณกรรมวิจารณ์ โดย ชัยวัฒน์ เทอดธรรม

รัฐศาสตร์สาร ปีที่23 ฉบับที่2 (2545)

2545p2

รัฐศาสตร์สาร ปีที่23 ฉบับที่2 (2545)
ISSN: 0125-135X

รายละเอียดบทความ

วิพากษ์และนำเสนอวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยภายใต้เขตเลือกตั้งจังหวัด วิเคราะห์ด้วยวิธี Monte Cario Simulation
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

เศรษฐศาสตร์การเมืองของธุรกิจภาพยนตร์ในเขตกรุงเทพมหานคร
กนกศักดิ์ แก้วเทพ และมงคล ปิยะทัสสกร

บทบาทของขบวนการเสรีไทยต่อขบวนการเสรีลาว
พิมพ์รต พิพัฒนกุล

เมืยงม่านในละกอน
โขมสี แสนจิตต์

ครัว: พื้นที่การผลิตวัฒนธรรมแห่งชีวิตประจำวัน
สมสุข หินวิมาน

สตรีในคัมภีร์ตะวันออก

 สตรีในคัมภีร์ตะวันออก

ชื่อ: สตรีในคัมภีร์ตะวันออก
ผู้แต่ง: ปรีชา ช้างขวัญยืน
สำนักพิมพ์: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
ISBN: 974-639-313-8

สารบัญ

1. ข้อขัดแย้งทางแนวคิดที่ใช้พิจารณาปัญหาผู้หญิง

- นักวิชาการไทยสายฝรั่ง

- มโนทัศน์วัตถุนิยมของตะวันตกกับจิตนิยมทางศาสนาของตะวันออก

- ปรัชญาแห่งสิทธิที่จะเอากับปรัชญาแห่งหน้าที่ที่จะให้

- มโนทัศน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์

- แนวคิดในการศึกษาประเด็นเกี่ยวกับผู้หญิงจากคัมภีร์

- ผู้หญิงในฐานะที่เป็นผู้หญิง

- ผู้หญิงในฐานะที่เป็นภรรยาและมารดา

- ผู้หญิงในฐานะมารดา

- ข้อสังเกต

3. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในพระไตรปิฏก

- แง่ดีและแง่ร้ายเกี่ยวกับผู้หญิงในคำสอนของพระพุทธศาสนา

- พระพุทธศาสนากับการยกย่องฐานะของผู้หญิง

- ความเป็นชายและความเป็นหญิงในทรรศนะของพระพุทธศาสนา

- ความเท่าเทียมกันในกิจกรรมทางศาสนา

- ฐานะและหน้าที่ของผู้หญิง

4. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในคัมภีร์อรรถศาสตร์ของเกาฏิลียะและแนวคิดนอกคัมภีร์

- กฏหมายเกี่ยวกับการแต่งงาน

- สิทธิของผู้หญิง

- ข้อปฏิบัตินอกคัมภีร์ซึ่งเป็นความนิยมของฮินดู

- สรุปเหตุที่ฐานะของสตรีฮินดูตกต่ำลง

5. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในพระมหาคัมภีร์อัล-กุรอาน

- สังคมของชาวอาหรับกับศาสนาอิสลาม

- ฐานะของผู้ชายและผู้หญิงในศาสนาอิสลาม

- ฐานะของผู้หญิงในทรรศนะของศาสนาอิสลาม

6. ศาสนาตะวันออกกับท่าทีต่อปัญหาผู้หญิงในโลกสมัยใหม่

- ท่าทีที่มุ่งไปสู่ความดีสูงสุด

- ท่าทีที่มุ่งปรับหลักการให้เหมาะแก่กรณีเฉพาะ

- ท่าทีที่จะแก้ไขสิ่งที่ผิดให้ถูกต้อง

- ท่าทีที่จะต้องวิเคราะห์ปัญหาอย่างรอบคอบ

- ท่าทีในเรื่องสิทธิที่สังคมพึงมีให้แก่ผู้หญิง

7. จากคัมภีร์ศาสนามาสู่กฏหมายตราสามดวง

- ความเข้าใจผิดบางประการเกี่ยวกับประเพณีเนื่องด้วยลูกชายลูกสาว

- ธรรมเนียมแต่งลูกเขยเข้าบ้าน

- ธรรมเนียมผู้ชายมีภรรยาหลายคน

- สิทธิที่กฏหมายตราสามดวงให้แก่ผู้หญิง

- การคุ้มครองรักษาผู้หญิง

- ข้อที่อาจกล่าวได้ว่าผู้หญิงฐานะด้อยกว่าผู้ชาย

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่37 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 51)

ArtCU2551p1

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 51) ฉบับวาทกรรม ภาพแทน อัตลักษณ์

ISBN: 0125-4820

รายละเอียดบทความ

ความหลากหลายทางวัฒนธรรม จากหลอมรวมเป็นหนึ่ง สู่ผสมผสานพันทาง   
ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

พื้นที่กับการต่อรองอัตลักษณ์ทางเพศ   
สันต์ สุวัจฉราภินันท์

พื้นที่เรือนไทยในนวนิยายเรื่อง แม่เบี้ย  
เสาวณิต จุลวงศ์

“Brokeback Mountain”: เมื่อพื้นที่เป็นผู้เขียนบท   
กฤษฎา ขำยัง

เขียนชีวิต ลิขิตตัวตน: เรื่องเล่าความเจ็บป่วยใน เอดส์ไดอารี่   
ชุติมา ประกาศวุฒิสาร

“ริมัก” ใน “อะปูริมัก”: อัตลักษณ์ทับซ้อนของโฆเซ มาเรีย อาร์เกดัสใน สายน้ำลึก   
ภาสุรี ลือสกุล

ภาพลักษณ์พระพุทธเจ้าในฐานะมนุษย์ผู้อภิวัฒน์ใน The Light of Asia   
วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล

ภาพแทนสงครามในกวีนิพนธ์ฝรั่งเศส สมัยต่อต้านการยึดครองของนาซี (ค.ศ. 1940-1944)   
บัณฑูร ราชมณี

สถานภาพหญิงชายในครอบครัวจีน: มุมสะท้อนจากภาษิต สำนวน และคำพังเพยจีน   
สุรีย์ ชุณหเรืองเดช

วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2553

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่31 ฉบับพิเศษ การเดินทางหลายมิติ หลากพรมแดน (2551)

ArtCU2551special

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับพิเศษ การเดินทางหลายมิติ หลากพรมแดน (2551)

ISBN: 0125-4820

รายละเอียดบทความ

การเดินทางของปัญญาและจินตนาการใน กามนิต ของเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป   
สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา

พื้นที่กับการเดินทางข้ามวัฒนธรรมในวรรณกรรมสัจนิยมมหัศจรรย์   
สุรเดช โชติอุดมพันธ์

การเดินทางหลากทวีปกับพัฒนาการกวีนิพนธ์ของปาโบล เนรูดา   
ภาสุรี บือสกุล

In Search of Lost Worlds: the Travels of Graham Greene   
ไซมอน เจพี. ไรท์

การแปลงโฉมระหว่างการเดินทางของนางเอกของเช็คสเปียร์   
พจี ยุวชิต

การเดินทางข้ามขอบเขต พรมแดน เพศสถานะ และห้วงเวลาในนวนิยาย เรื่อง Orlando ของ เวอร์จิเนีย วูลฟ์   
คารินา โชติรวี

พื้นที่ในความทรงจำกับการสร้างอัตลักษณ์พลัดถิ่นในวรรณกรรมสตรีร่วมสมัย   
ชุติมา ประกาศวุฒิสาร

การเดินทางข้ามพรมแดน-จากวรรณกรรมสู่แผ่นฟิล์ม โธมัส มันน์ ความตายที่เวนิส   
พรสรรค์ วัฒนางกูร

การเรียนการสอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต   
วรรณา แสงอร่ามเรือง

หลากมิติของคำแสดงโภชนลักษณ์ในตำราอาหารไทย อังกฤษ ผรั่งเศส   
สุนันท์ อัญชลีนุกูล

วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2553

บทความที่มีPDF

ปี

ผู้แต่ง/บรรณาธิการ

บทความ/หนังสือ

รายละเอียด

หน้า

2533 ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล

เค้าโครงความคิดเรื่องโครงสร้างในการศึกษานิทานปรัมปราของโคลด เลวี่-สเตราส์

วารสารธรรมศาสตร์ 17,1 (มิ.ย. 2533)

45-79

2534 ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล

มานุษยวิทยาปริทัศน์: จารีตและวรรณศิลป์ในงานชาติพันธุ์วรรณา

จุลสารไทยคดีศึกษา 8, 2 (ต.ค. 2534)

18-22

2536 อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว เทคนิคการเก็บข้อมูล จุลสารไทยคดีศึกษา 10, 1 (ส.ค.-ต.ค. 2536) 6-9
2537 ยุกติ มุกดาวิจิตร การเมืองเรื่องวัฒนธรรมในสังคมไทย พ.ศ. 2501-2537

วารสารธรรมศาสตร์ 20,3 (ก.ย. - ธ.ค. 2537)

20-41

2539 ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ จินตนาการสู่ปี 2000 : นวกรรมเชิงกระบวนทัศน์ด้านไทยศึกษา? สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ทั้งเล่ม
2543 ธงชัย วินิจจะกูล การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ของอดีต: ประวัติศาสตร์ใหม่ในประเทศไทยหลัง 14 ตุลาคม

สถานภาพไทยศึกษา: การสำรวจเชิงวิพากษ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

18-47
2551-2552 ธงชัย วินิจจะกูล เรื่อง, ลำดับเรื่อง, และโครงเรื่อง กับความรู้ประวัติศาสตร์ จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 12 (มิถุนายน 2551-พฤษภาคม 2552) 7-21

 

หมายเหตุ

1. ไฟล์ในส่วนของมานุษยวิทยา ได้มาจากคุณ Fxxknoevil

2. ไฟล์ในส่วนของ การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ ได้ไฟล์ทั้งเล่มมาจากสกว.

3. ไฟล์ในส่วนของเรื่อง ลำดับเรื่องฯ ได้ไฟล์มาจากพี่ต่าย นันทิยา สุคนธปฏิภาค

วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553

จินตนาการสู่ปี 2000

จินตนาการสู่ปี 2000 : นวกรรมเชิงกระบวนทัศน์ด้านไทยศึกษา?

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2539

coverจินตนาการสู่ปี2000_1

 

ผู้แต่ง

ชื่อบทความ

หน้า

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ บทนำ: กระบวนทัศน์ใหม่สำหรับไทยศึกษา? ก-จ
ยศ สันตสมบัติ นิเวศน์วิกฤตกับยุทธหัตถีเชิงกระบวนทัศน์ 1-49
สุนัย เศรษฐบุญสร้าง ระบาดวิทยาแห่งจริยวิกฤตในสังคมไทย 50-82
เกษียร เตชะพีระ บริโภคความเป็นไทย 83-127
เกื้อ วงศ์บุญสิน คน: การเปลี่ยนแปลงช่วงชีวิตประชากรในสังคมไทย 129-179
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ สิทธิคนไทยในรัฐไทย: ช่วงที่ 1 180-204
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ สิทธิคนไทยในรัฐไทย: ช่วงที่ 2 204-233
กาญจนา แก้วเทพ วัฒนธรรมใหม่ในสังคมไทย: พิเคราะห์ด้วยวิธีการมานุษยวิธี 234-296
ธเนศ วงศ์ยานนาวา ประชาธิปไตยไทยหลังสมัยใหม่ 297-342
มนตรี เจนวิทย์การ อภิมหาโครงการกับการเมืองการเงินในอนาคต 343-373
สุรชาติ บำรุงสุข จากสงครามเย็น... สู่สันติภาพเย็น: ความสืบเนื่องและความเปลี่ยนแปลงปัญหาความมั่นคงไทยใน ค.ศ. 2000: ช่วงที่ 1 376-403
สุรชาติ บำรุงสุข จากสงครามเย็น... สู่สันติภาพเย็น: ความสืบเนื่องและความเปลี่ยนแปลงปัญหาความมั่นคงไทยใน ค.ศ. 2000: ช่วงที่ 2 403-432
สุรชาติ บำรุงสุข จากสงครามเย็น... สู่สันติภาพเย็น: ความสืบเนื่องและความเปลี่ยนแปลงปัญหาความมั่นคงไทยใน ค.ศ. 2000: ภาคผนวก 433-455
สมเกียรติ วันทะนะ ไทยศึกษายุคใหม่: ข้อจำกัดของการวิจัยเชิงปริมาณ 457-494
ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ ไทยศึกษากับอิตถีศาสตร์พินิจ 495-524
ปริญญ์ ปราชญานุพร การประสานประยุกต์เชิงกระบวนทัศน์ตะวันออกตะวันตกเพื่อไทยศึกษา 525-582
เทียนชัย วงศ์ชัยสุวรรณ จินตนาการ 2000 กระบวนทัศน์และวิสัยทัศน์ใหม่ 583-617

 

ที่มา: ไฟล์ทั้งเล่มมาจากสกว. แต่นำมาแยกเป็นบทๆ เอง

วันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2553

รัฐประหาร 19 กันยา

รัฐประหาร19กันยา

รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, 2550
ISBN: 974-94980-2-X

บทนำ
"ผมไม่มีวันเห็นว่าการรัฐประหารใดๆ ชอบธรรมเป็นอันขาด"
นิธิ เอียวศรีวงศ์

สถาบันกษัตริย์กับรัฐธรรมนูญ
สุลักษณ์ ศิวรักษ์

ข้ามไม่พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา:
ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชนกับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
ธงชัย วินิจจะกูล

"การรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 คือการทำให้พลเมืองกลายเป็นไพร่"
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

ภาคผนวก: ว่าด้วยการแทรกแซงการเมืองของ "ชายบนหลังม้า" S.E.Finer
เขียน รัฐประหาร : วาทกรรมปฏิปักษ์ประชาธิปไตยในภูมิความคิดของปัญญาชนไทย
ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์

ภาคผนวก: ข้อเสนอเรื่อง "โครงสร้างการเมืองแบบภูมิปัญญาไทย" ธีรยุทธ บุญมี
การเมืองน้ำเชี่ยว: รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กับปัญหาความชอบธรรมทางการเมือง
เกษม เพ็ญภินันท์

อริสโตเติลกับรัฐประหาร 19 กันยา
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

เฮ้ย... ผมว่าเรียกมันเลยว่า "คณะปฏิกูล"
ธเนศ วงศ์ยานนาวา

หลักนิติรัฐประหาร
สมชาย ปรีชาศิลปกุล

ฐานะทางประวัติศาสตร์ของการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

ภาคผนวก: ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของการรัฐประหารในประเทศไทย
รัฐประหารไทยในสายตาสื่อเทศ
ภัควดี วีระภาสพงษ์

ภาคผนวก: คุณมีรัฐธรรมของคุณ เรามีรัฐธรรมนูญของเรา สัมภาษณ์ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
วิเคราะห์ระบอบสนธิ
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

แกะรอยพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย: ผู้ออกบัตรเชิญให้คณะรัฐประหาร
ธนาพล อิ๋วสกุล

ทำไมพวกเขาถึงไม่ต้านรัฐประหาร
ประวิตร โรจนพฤกษ์

จารึกไว้ในยุคสมัยแห่งการ "รัฐประหาร"
อุเชนทร์ เชียงเสน

ปัญญาชน 14 ตุลา พันธมิตรฯ และแอ๊กติวิสต์ "2 ไม่เอา"
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

จากรัฐประหาร 19 กันยา ถึงรัฐธรรมนูญ 49: แสงริบหรี่ที่ปลายอุโมงค์
พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์: เรียบเรียง

วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2547)

ArtTU4v2

วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2547)
ISBN: 1513-9131
รายละเอียดบทความ
- การปรับเปลี่ยนด้านเนื้อหาและศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมร้อยกรองเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช: ความสอดคล้องกับยุคสมัยและการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดย ธงชัย ดิษโส
- บทบาทและหน้าที่ของผู้หญิงทำงานในสังคมญี่ปุ่น ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย บารนี บุญทรง
- ว่าด้วยบทบาทของสตรีเยอรมัน จากอดีตสู่ปัจจุบัน โดย อัญชลี โตพึ่งพงศ์
- การศึกษาตัวละครที่มีความรักในนวนิยายเรื่อง Indiana, Valentine, Lelia และ Leone Leoni ของจอร์จ ซองด์ โดย กนกวรรณ เกตวัลห์
- Spenser's Britomart: The Knight of Chastity and the Virgin Queen by Jeffy S. Kramer
- Virginia Woolf's Orlando: The Making of a "Woman" by Pakorn Atikan
- "ผู้หญิง" ในภาษาอังกฤษ โดย พิมพันธุ์ เวสสะโกศล
- พินิจหนังสือ

วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2544)

ArtTU1V2

วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2544)

ISBN: 1513-9131

บทความ
- วิวัฒนาการของมโนทัศน์สิทธิมนุษยชนในประวัติภูมิปัญญาไทย โดย ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
- Definitions of Culture: Losing Sight of the Forest for the Splinters? by Ross Taylor
- Different Perspectives in "Wash" and Absalom, Absalom! by Chusak Pattarakulvanit
- นานาทรรศนะความรัก โดย วิทยา เศรษฐวงศ์
- สาสน์สมเด็จ: ทรรศนะเรื่อง "ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย" โดย จิราพร โชติเธียระวงศ์

งานวิจัย
- อัตทัศน์ กลไกการปรับตัวเพื่อป้องกันตนเองและบุคลิกภาพของชายรักร่วมเพศที่มีอาชีพขายบริการทางเพศ โดยคริสโตเฟอร์ ดี โทรี่ และทิพาวดี เอมะวรรธนะ
- กลวิธีสื่อสารด้วยการพูดภาษาอ้อมของคนไทย โดย ดียู ศรีนราวัฒน์
- การใช้ภาพพจน์ในพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ โดย นิตยา แก้วคัลณา
- The Effectiveness of Self-, Peer- and Teacher-Corrected Writing on Writing Achievement of Undergraduate Political Science Students at Thammasat University by Saneh Thongrin

การเรียน-การสอน
- Germanistikstudium in Thailand: Standpunkt und Tendenz โดย ภรรดา ทามุระ

บทกวี
- อาศิรวาทราชสดุดี โดย สุปาณี พัดทอง
- "Bandwagon," "Nightlife," "The Man in the Slob Weeds" by Frank Finney

อิสรทัศน์
- ปัญหาของวรรณคดีไทยศึกษา: ช้อสังเกตที่ได้จากการวิจัยกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย โดย สุมาลี วีระวงศ์

รัฐศาสตร์สาร: ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (2541)

2541y20v1

รัฐศาสตร์สาร: ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (2541)
ISBN: 0125-135X

รายละเอียดบทความ

การส่งทหารออกนอกประเทศ ไปปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
ประเสริฐ จิตติวัฒนพงศ์

ปัญหาลัทธินาซีใหม่ (NEO-NAZI)
บรรพต กำเนิดศิริ

ประชาธิปไตยและความยุติธรรม: การค้นคว้าทางปรัชญา
โสรัจจ์ หาศ์ลดารมภ์

สื่อมวลชนในฐานะเครื่องมือกลไกของอำนาจทางการเมือง: ศึกษาเฉพาะงานเขียนของบุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา
ทวีศักดิ์ เผือกสม

วิจารณ์หนังสือ
พวงทอง รุ่งสวัสดิทรัพย์