วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553

สตรีในคัมภีร์ตะวันออก

 สตรีในคัมภีร์ตะวันออก

ชื่อ: สตรีในคัมภีร์ตะวันออก
ผู้แต่ง: ปรีชา ช้างขวัญยืน
สำนักพิมพ์: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
ISBN: 974-639-313-8

สารบัญ

1. ข้อขัดแย้งทางแนวคิดที่ใช้พิจารณาปัญหาผู้หญิง

- นักวิชาการไทยสายฝรั่ง

- มโนทัศน์วัตถุนิยมของตะวันตกกับจิตนิยมทางศาสนาของตะวันออก

- ปรัชญาแห่งสิทธิที่จะเอากับปรัชญาแห่งหน้าที่ที่จะให้

- มโนทัศน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์

- แนวคิดในการศึกษาประเด็นเกี่ยวกับผู้หญิงจากคัมภีร์

- ผู้หญิงในฐานะที่เป็นผู้หญิง

- ผู้หญิงในฐานะที่เป็นภรรยาและมารดา

- ผู้หญิงในฐานะมารดา

- ข้อสังเกต

3. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในพระไตรปิฏก

- แง่ดีและแง่ร้ายเกี่ยวกับผู้หญิงในคำสอนของพระพุทธศาสนา

- พระพุทธศาสนากับการยกย่องฐานะของผู้หญิง

- ความเป็นชายและความเป็นหญิงในทรรศนะของพระพุทธศาสนา

- ความเท่าเทียมกันในกิจกรรมทางศาสนา

- ฐานะและหน้าที่ของผู้หญิง

4. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในคัมภีร์อรรถศาสตร์ของเกาฏิลียะและแนวคิดนอกคัมภีร์

- กฏหมายเกี่ยวกับการแต่งงาน

- สิทธิของผู้หญิง

- ข้อปฏิบัตินอกคัมภีร์ซึ่งเป็นความนิยมของฮินดู

- สรุปเหตุที่ฐานะของสตรีฮินดูตกต่ำลง

5. แนวคิดเกี่ยวกับผู้หญิงในพระมหาคัมภีร์อัล-กุรอาน

- สังคมของชาวอาหรับกับศาสนาอิสลาม

- ฐานะของผู้ชายและผู้หญิงในศาสนาอิสลาม

- ฐานะของผู้หญิงในทรรศนะของศาสนาอิสลาม

6. ศาสนาตะวันออกกับท่าทีต่อปัญหาผู้หญิงในโลกสมัยใหม่

- ท่าทีที่มุ่งไปสู่ความดีสูงสุด

- ท่าทีที่มุ่งปรับหลักการให้เหมาะแก่กรณีเฉพาะ

- ท่าทีที่จะแก้ไขสิ่งที่ผิดให้ถูกต้อง

- ท่าทีที่จะต้องวิเคราะห์ปัญหาอย่างรอบคอบ

- ท่าทีในเรื่องสิทธิที่สังคมพึงมีให้แก่ผู้หญิง

7. จากคัมภีร์ศาสนามาสู่กฏหมายตราสามดวง

- ความเข้าใจผิดบางประการเกี่ยวกับประเพณีเนื่องด้วยลูกชายลูกสาว

- ธรรมเนียมแต่งลูกเขยเข้าบ้าน

- ธรรมเนียมผู้ชายมีภรรยาหลายคน

- สิทธิที่กฏหมายตราสามดวงให้แก่ผู้หญิง

- การคุ้มครองรักษาผู้หญิง

- ข้อที่อาจกล่าวได้ว่าผู้หญิงฐานะด้อยกว่าผู้ชาย

ไม่มีความคิดเห็น: