วันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2553

รัฐประหาร 19 กันยา

รัฐประหาร19กันยา

รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, 2550
ISBN: 974-94980-2-X

บทนำ
"ผมไม่มีวันเห็นว่าการรัฐประหารใดๆ ชอบธรรมเป็นอันขาด"
นิธิ เอียวศรีวงศ์

สถาบันกษัตริย์กับรัฐธรรมนูญ
สุลักษณ์ ศิวรักษ์

ข้ามไม่พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา:
ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชนกับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
ธงชัย วินิจจะกูล

"การรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 คือการทำให้พลเมืองกลายเป็นไพร่"
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

ภาคผนวก: ว่าด้วยการแทรกแซงการเมืองของ "ชายบนหลังม้า" S.E.Finer
เขียน รัฐประหาร : วาทกรรมปฏิปักษ์ประชาธิปไตยในภูมิความคิดของปัญญาชนไทย
ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์

ภาคผนวก: ข้อเสนอเรื่อง "โครงสร้างการเมืองแบบภูมิปัญญาไทย" ธีรยุทธ บุญมี
การเมืองน้ำเชี่ยว: รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กับปัญหาความชอบธรรมทางการเมือง
เกษม เพ็ญภินันท์

อริสโตเติลกับรัฐประหาร 19 กันยา
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

เฮ้ย... ผมว่าเรียกมันเลยว่า "คณะปฏิกูล"
ธเนศ วงศ์ยานนาวา

หลักนิติรัฐประหาร
สมชาย ปรีชาศิลปกุล

ฐานะทางประวัติศาสตร์ของการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

ภาคผนวก: ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของการรัฐประหารในประเทศไทย
รัฐประหารไทยในสายตาสื่อเทศ
ภัควดี วีระภาสพงษ์

ภาคผนวก: คุณมีรัฐธรรมของคุณ เรามีรัฐธรรมนูญของเรา สัมภาษณ์ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
วิเคราะห์ระบอบสนธิ
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

แกะรอยพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย: ผู้ออกบัตรเชิญให้คณะรัฐประหาร
ธนาพล อิ๋วสกุล

ทำไมพวกเขาถึงไม่ต้านรัฐประหาร
ประวิตร โรจนพฤกษ์

จารึกไว้ในยุคสมัยแห่งการ "รัฐประหาร"
อุเชนทร์ เชียงเสน

ปัญญาชน 14 ตุลา พันธมิตรฯ และแอ๊กติวิสต์ "2 ไม่เอา"
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

จากรัฐประหาร 19 กันยา ถึงรัฐธรรมนูญ 49: แสงริบหรี่ที่ปลายอุโมงค์
พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์: เรียบเรียง

ไม่มีความคิดเห็น: